แพลงก์ตอนวิทยา

Planktonology

. วัตถุประสงค์ของรายวิชา : เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 เพื่อทราบคำศัพท์เกี่ยวกับแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์
1.2 เพื่อทราบวิธีการจำแนกชนิดของแพลงก์ตอนพืช และแพลงก์ตอนสัตว์
1.3 เพื่อทราบวิธีการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน
1.4 เพื่อให้ทราบประโยชน์ของแพลงก์ตอน
 


2. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
รู้ความหมายแพลงก์ตอนพืช แพลงก์ตอนสัตว์ โครงสร้างของแพลงก์ตอน รู้เกี่ยวกับการจำแนกชนิดของแพลงก์ตอนพืชและแพลงก์ตอนสัตว์ รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน
      4. รู้และเข้าใจประโยชน์ของแพลงก์ตอน  
เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาและพัฒนาผู้เรียนให้ครบทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ รวมทั้งทักษะการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยผ่านทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ฝึกค้นหาข้อมูลและวิทยาการใหม่ๆ จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเอง


   
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับแพลงก์ตอน การศึกษาเกี่ยวกับแพลงก์ตอน  การจำแนกชนิดแพลงก์ตอนพืช การจำแนกชนิดแพลงก์ตอนสัตว์ การเพาะเลี้ยงแพลงก์ตอน ประโยชน์ของแพลงก์ตอน
3.1 วันพุธ  เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาประมง
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
˜1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรมจริยธรรมระหว่างการสอน
- สังเกต บันทึกพฤติกรรมการเรียน การปฏิบัติการการทดลอง การบันทึกผลและรายงานผลการทดลอง การแต่งกายและตรงต่อเวลา
- มอบหมายงานกลุ่ม
- ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
-ประเมินความมีวินัยและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
-ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
- เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- มอบหมายให้ศึกษาบทเรียนและทำความเข้าใจล่วงหน้า
- บรรยายเนื้อหาให้แก่ผู้เรียน และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถามก่อนเข้าทำปฏิบัติการเพื่อให้ผู้เรียนได้ทำปฏิบัติการด้วยความมั่นใจ
- ประเมินผลจากการสอบด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
-แบ่งกลุ่มปฏิบัติการ และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ของปฏิบัติการต่างๆอย่างเป็นระบบ
- ทำการจัดเก็บข้อมูลให้ถูกต้องอย่างเป็นระบบ
- ทำการวิเคราะห์ข้อมูล/คำนวณ (ถ้ามี )
- ทำการสรุปผลการทดลองและเขียนรายงาน
- ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียน และแสดงความคิดเห็นต่อปัญหาพร้อมทั้งค้นคว้าเพิ่มเติม
ประเมินผลจากรายงานผลการทดลอง และการตอบปัญหาในชั้นเรียน
˜4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- จัดกิจกรรมกลุ่มในการทำบทปฏิบัติการ
- มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล
- การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
ประเมินจากพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีการอธิบายวิธีการปฏิบัติการทดลอง และ/หรือ การคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎี
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเอง จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล
- ประเมินจากการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข/จัดเก็บข้อมูลการทดลองอย่างเป็นระบบ
- ประเมินจากการเขียนรายงาน
š6.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม
˜6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย
การสอนแบบปฏิบัติ  โดย
- กำหนดให้นักศึกษาฝึกทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์เกี่ยวกับแพลงก์ตอน
การสอนแบบปฏิบัติ  โดย
- กำหนดให้นักศึกษาฝึกทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย
- ประเมินจากโครงการกลุ่มในการวางแผนการดำเนินงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 23012407 แพลงก์ตอนวิทยา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 5.1 ทดสอบ ตลอดภาคการศึกษา 30%
2 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.2, 5.1, ทดสอบ,ปฏิบัติการทดลอง, การบันทึกผลการทดลอง, สมุด และรายงานการทดลอง ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 1.1, 1.2, 4.1 จิตพิสัย (พฤติกรรมในการเรียน) ตลอดภาคการศึกษา 10%
ลัดดา  วงศ์รัตน์.  2542.  แพลงก์ตอนพืช.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  กรุงเทพ.  851 หน้า.
ลัดดา  วงศ์รัตน์.  2543.  แพลงก์ตอนสัตว์.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  กรุงเทพ.  787 หน้า.
ลัดดา  วงศ์รัตน์.  2540.  คู่มือการเลี้ยงแพลงก์ตอน.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  กรุงเทพ.  117 หน้า.
มาลินี  ฉัตรมงคลกุล และ ชิดชัย จันทร์ตั้งสี.  2548.  แพลงก์ตอน.  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.  กรุงเทพฯ.  352 หน้า.
ผุสดี  เทียนถาวร.  2540.  ความสัมพันธ์ระหว่างแพลงก์ตอนพืชกับคุณภาพน้ำบางประการในแม่น้ำแม่กลอง.  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  กรุงเทพ.  133 หน้า.
เอกสารทางวิชาการและงานวิจัยที่เก๊่ยวช้องกับแพลงก์ตอน
 
ศิริพร บุญดาว ณรงค์ วีระไวทยะ และ ลัดดา วงศ์รัตน์.  2550. องค์ประกอบชนิดและปริมาณของแพลงก์ตอนพืชบริเวณปากแม่น้ำแม่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม, หน้า 509-516.  ใน เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45: สาขาประมง.  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.  
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
     1.1  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     1.2  การสังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
     1.3  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
     2.1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอน  การตอบสนอง  การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
     2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา
     2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
          อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาทุกภาคการศึกษา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
การตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยการตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   ปรับปรุงสื่อการสอนให้ทันกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้และประสบการณ์ที่หลากหลาย