ธุรกิจสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ

Textile, Fashion and Jewelry Business

เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ การจัดทำแผนธุรกิจและแผนการตลาด สำหรับแบรนด์สินค้าสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ การสร้าง Business Model และการนำเสนอแผนธุรกิจสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ การจัดทำแผนธุรกิจและแผนการตลาด สำหรับแบรนด์สินค้าสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ การสร้าง Business Model และการนำเสนอแผนธุรกิจสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
ศึกษาเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ แนวโน้มอุตสาหกรรมและการส่งเสริมธุรกิจ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการเชิงธุรกิจ การจัดทำแผนธุรกิจและแผนการตลาด การบริหารการผลิตและกฎหมาย แบรนด์สินค้าสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ ปฏิบัติการสร้าง Business Model และการนำเสนอแผนธุรกิจสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
 
Study of how to be a textile, fashion and jewelry entrepreneurs, industry trend and business promotion, product development and service-oriented business, the business plan and marketing plan, production management and law for business, branding, business model and business plan presentation.
1 ชั่วโมง
1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน สอนความรู้จรรยาบรรณทางด้านวิชาชีพ ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
2.1.1 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 
2.1.2 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.1.3 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
การทดสอบย่อย
สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน การมอบหมายงานให้นึกศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน 
มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมอบหมายงานโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความเห็นของผู้อื่น การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม 
ประเมินจากการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 3 1 2 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ123 ธุรกิจสิ่งทอ แฟชั่นและเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 2.3.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 40%
2 2.1 3.1.1-3.1.2 4.1.1-4.1.2 5.1.1-5.1.2 ทดสอบย่อย รายงาน การนำเสนอผลงาน ตลอดภาคเรียน 50%
3 1.1.2-1.1.5 4.1.1 การเข้าเรียนในระบบออนไลน์ การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคเรียน 10%
Fashionary, (2018). The Fashion Business Manual : An Illustrated Guide to Building a Fashion Brand. Hong Kong, Fashionary International Limited.
Building a Fashion Brand by Diane von Furstenberg, Masterclass.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียนผ่านระบบประชุมออนไลน์ (Microsoft Team) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   แบบประเมินความพึงพอใจ
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4