การออกแบบแฟชั่นเพื่อการตลาด

Commercial Fashion Design

เพื่อให้นักศึกษามีทักษะด้านการออกแบบแฟชั่นเพื่อการตลาด สามารถวิเคราะห์และวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค มีการนำข้อมูลมาใช้ในการออกแบบและสร้างแบรนด์สินค้าเสื้อผ้าแฟชั่นที่ตอบสนองเฉพาะกลุ่มลูกค้า และสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่นสำเร็จรูปได้
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะเกี่ยวกับการออกแบบแฟชั่นเพื่อการตลาด การวิเคราะห์และวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อสอดคล้องกับการออกแบบ การสร้างแบรนด์สินค้าเสื้อผ้าแฟชั่นเพื่อตอบสนองเฉพาะกลุ่มลูกค้า การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่นสำเร็จรูป
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบแฟชั่นเพื่อการตลาด การวิเคราะห์และวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อสอดคล้องกับการออกแบบ การสร้างแบรนด์สินค้าเสื้อผ้าแฟชั่นเพื่อตอบสนองเฉพาะกลุ่มลูกค้า การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่นสำเร็จรูป
 
Practice creating commercial fashion design concept, analyzing and research of customer behavior to apply for designing, brand building for the niche market, designing and developing fashion garment. 
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 
1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน สอนความรู้จรรยาบรรณทางด้านวิชาชีพ ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 
ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
2.1.1 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ  2.1.2 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี 
1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ 4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 5. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ 
มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ใช้กรณีศึกษา การจัดทำโครงงาน การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน และร่วมแสดงความคิดเห็น 
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน 
มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมอบหมายงานโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความเห็นของผู้อื่น การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จัดกิจกรรมการเรียนในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม 
ประเมินจากการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ 
มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน 
ใช้วิธีการสอน ด้วยทำตามใบงาน การใช้กรณีศึกษา และสร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติและผลงาน 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ137 การออกแบบแฟชั่นเพื่อการตลาด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 2.3.2 สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค 9 และ 18 30
2 2.1 3.1.1-3.1.2 4.1.1-4.1.2 5.1.1-5.1.2 6.1-6.3 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคเรียน 60
3 1.1.2-1.1.5 4.1.1 การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคเรียน 10
Fashionary, (2018). The Fashion Business Manual. China, Fashionary International Ltd.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้  
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  
2.1   แบบประเมินผลการสอนของนักศึกษา  
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้  
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์