การออกแบบระบบเกษตร

Agricultural System Design

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ การออกแบบผังรวมของระบบเกษตร การออกแบบระบบการทำฟาร์มแบบผสมผสาน การออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับการผลิตทางการเกษตร  การออกแบบโครงสร้างการออกแบบระบบระบายอากาศ การออกแบบระบบไฟฟ้า การออกแบบระบบชลประทานการออกแบบระบบสุขาภิบาล การออกแบบระบบสารสนเทศกฎเกณฑ์ของการออกแบบระบบเกษตรการประมาณราคา คอมพิวเตอร์ช่วยงานออกแบบระบบฟาร์ม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ จากการศึกษาและปฏิบัติการออกแบบระบบเกษตรการออกแบบระบบการทำฟาร์มแบบผสมผสาน อีกทั้งยังเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้มีการปรับเปลี่ยนการทดลองในห้องปฏิบัติการหรือตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ การออกแบบผังรวมของระบบเกษตร การออกแบบระบบการทำฟาร์มแบบผสมผสาน การออกแบบสภาพแวดล้อมสำหรับการผลิตทางการเกษตร  การออกแบบโครงสร้างการออกแบบระบบระบายอากาศ การออกแบบระบบไฟฟ้า การออกแบบระบบชลประทานการออกแบบระบบสุขาภิบาล การออกแบบระบบสารสนเทศกฎเกณฑ์ของการออกแบบระบบเกษตรการประมาณราคา คอมพิวเตอร์ช่วยงานออกแบบระบบฟาร์ม
-    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

                              5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
                              6มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบระบบเกษตร โดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง

                  2 อภิปรายกลุ่ม
                   3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
มีความรู้เกี่ยวกับ การออกแบบระบบเกษตร การทำฟาร์ม สภาพแวดล้อม โครงสร้าง เชิงกล ระบบระบายอากาศ ระบบไฟฟ้า  สุขาภิบาล สารสนเทศ ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบและวิเคราะห์
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ทางปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชา และจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน เป็นต้น
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในด้านต่าง ๆ คือ
1 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2    ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                                4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2.1    กรณีศึกษาทางการประยุกต์วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
3.2.2    การอภิปรายกลุ่ม
3.2.3    ให้นักศึกษาปฏิบัติจริง
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ และการเข้าชั้นเรียน เป็นต้น
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มการทำการทดลองในชั้นเรียน
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการทดลองนั้นๆ
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   สังเกตการทำงานเป็นกลุ่มของนักศึกษา
4.3.2  ประเมินจากแบบทดสอบในคาบเรียน  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง  
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ
5.1.2   พัฒนาทักษะในการออกแบบระบบเกษตร
5.2.1   บรรยายปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบระบบเกษตรในอดีตและปัจจุบัน สอดแทรกระหว่างคาบเรียนเพื่อให้นักศึกษาคุ้นเคยมากขึ้น
5.2.2   ให้นักศึกษาทำแบบทดสอบ แบบฝึกหัด รวมไปถึงการบ้านซึ่งเกี่ยวข้องกับปัญหาทางการออกแบบระบบเกษตร
5.2.3ให้นักศึกษานำเสนอการออกแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากการสังเกตนักศึกษาในคาบเรียนว่ามีการตอบสนองกับคำถามอย่างไร
5.3.2   ประเมินจากแบบทดสอบ แบบฝึกหัด การบ้าน รวมไปถึงการนำเสนอที่นักศึกษา
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ วิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ  6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
      6.2.1   การนำเสนอผลงานเกี่ยวกับการออกแบบระบบเกษตรด้านความรับผิดชอบ การให้ความร่วมมือในการทำงานเป็นกลุ่ม
      6.2.2   นักศึกษาสามารถแบ่งหน้าที่หรือมอบหมายเพื่อให้งานออกมาสำเร็จและบรรลุวัตถุประสงค์ในแต่ละหัวข้อ
6.3.1   ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงต่อเวลา
6.3.2   ประเมินจากการมีความเป็นผู้นำและผู้ตาม ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 2 3 4 5 1 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG201 การออกแบบระบบเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 25% 25%
2 1.2.1-1.2.3,1.3.2-1.3.4,2.3.2,3.3,4.3.2-4.3.3,5.3.2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1.3.1,3.3,4.3.1,5.3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ไม่มี
ไม่มี
ค้นหาในเวปไซด์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ