ปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์

Special Problems in Plant Science

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้
1.1 รู้จักเอา ความรู้พื้นฐานและวิชาชีพทางพืช ทักษะพื้นฐานและทักษะวิชาชีพมาใช้ในการปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิตพืชและศึกษา ทดลองทางด้านพืชศาสตร์
1.2 เข้าใจหลักการและวิธีการศึกษาการผลิตพืชและปัญหาทางด้านพืชศาสตร์
1.3 รู้จักดำเนินงานตามขั้นตอนที่ได้วางแผนการศึกษาและทดลอง
1.4 สามารถวิเคราะห์ สรุปผลเพื่อตอบคำถามจากสมมุติฐานที่ตั้งไว้
ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการผลิต และปัญหาทางด้านพืชศาสตร์ แล้วเขียนรายงานที่ ถูกต้องตามหลักวิชาการ หรือ ศึกษาค้นคว้า ทดลอง และวิเคราะห์เพื่อให้ทราบถึงคำตอบหรือสาเหตุข้อสงสัยจากสมมุติฐานที่ตั้งไว้
1.อาจารย์จัดทำแผนการเรียน-การสอน เพื่อให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการ แจ้งเป็นข้อตกลงในสัปดาห์แรกของการเรียนการสอน
2.อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
3. วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น. ณ ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์
4. e-mail : k.rujiphot@gmail.com ช่วงเวลา 20.00 –24.00 น. ทุกวัน
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ประกอบสื่อ power point
1.2.2 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ดำเนินงานตามแผนการปฏิบัติงานในรายวิชาและตามหัวข้อโครงการปัญหาพิเศษที่ผู้เรียนได้นำเสนอไว้
1.3.1 การสังเกต ติดตาม และประเมินผล การดำเนินงานตามโครงการปัญหาพิเศษที่ผู้เรียนได้นำเสนอไว้
1.3.2 การสังเกต ติดตาม และประเมินผล การนำเสนอโครงการฯ รายงานผลฯ แบบปากเปล่าประกอบสื่อ power point ในชั้นเรียน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ประกอบสื่อ power point
2.2.2 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ดำเนินงานตามหัวข้อโครงการปัญหาพิเศษที่ผู้เรียนได้นำเสนอไว้
2.3.1 การสังเกต ติดตาม และประเมินผล ตามโครงการปัญหาพิเศษที่ผู้เรียนได้นำเสนอไว้
2.3.2 การสังเกต ติดตาม และประเมินผล การนำเสนอโครงการฯ รายงานผลฯ แบบปากเปล่าประกอบสื่อ power point ในชั้นเรียน
2.3.3 รายงานปัญหาพิเศษฉบับสมบูรณ์
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1 การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ประกอบสื่อ power point
3.2.2 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) ดำเนินงานตามหัวข้อโครงการปัญหาพิเศษที่ผู้เรียนได้นำเสนอไว้
3.3.1 การสังเกต ติดตาม และประเมินผล ตามโครงการปัญหาพิเศษที่ผู้เรียนได้นำเสนอไว้
3.3.2 การสังเกต ติดตาม และประเมินผล การนำเสนอโครงการฯ รายงานผลฯ แบบปากเปล่าประกอบสื่อ power point ในชั้นเรียน
3.3.3 รายงานปัญหาพิเศษฉบับสมบูรณ์
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ประกอบสื่อ power point
4.2.2 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) การดำเนินงานตามโครงการปัญหาพิเศษที่ผู้เรียนได้นำเสนอไว้
4.2.3 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) โดยการนำเสนอโครงการฯ การนำเสนอรายงานผลฯ แบบปากเปล่าประกอบสื่อ power point ในชั้นเรียน
4.3.1 การสังเกต ติดตาม และประเมินผล การดำเนินงานตามโครงการปัญหาพิเศษที่ผู้เรียนได้นำเสนอไว้
4.3.2 การสังเกต ติดตาม และประเมินผล การนำเสนอโครงการฯ รายงานผลฯ แบบปากเปล่าประกอบสื่อ power point ในชั้นเรียน
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ประกอบสื่อ power point
5.2.2 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) การดำเนินงานตามโครงการปัญหาพิเศษที่ผู้เรียนได้นำเสนอไว้
5.2.3 กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) จากแหล่งข้อมูลทางวิชาการที่เชื่อถือได้ ประกอบการเขียนรายงานฉบับสมบูณ์
5.3.1 การสังเกต ติดตาม และประเมินผล การดำเนินงานตามโครงการปัญหาพิเศษที่ผู้เรียนได้นำเสนอไว้
5.3.2 การสังเกต ติดตาม และประเมินผล การนำเสนอโครงการฯ รายงานผลฯ แบบปากเปล่าประกอบสื่อ power point ในชั้นเรียน
5.3.3 รายงานปัญหาพิเศษฉบับสมบูรณ์
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 21019405 ปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 2.2, 2.3, 5.1, 5.2 งานมอบหมาย 1-8 5%
2 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 2.3, 5.1, 5.2 การนำเสนอโครงการ 4-8 15%
3 1.3, 1.4, 2.2, 2.3, 3.1, 4.1,4..3, 5.1,5.2 ผลการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง 4-18 60%
4 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 5.1, 5.2, 5.3 การนำเสนอผลงาน/รายงานฉบับสมบูรณ์ 14-18 20%
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร. มปป. คู่มือปัญหาพิเศษ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้าน. 46 น.
วารสารภาษาไทย เช่น วารสารวิชาการเกษตร, แก่นเกษตร, วารสารทางการเกษตรและเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัยต่างๆ เช่น มก., มช., มข., มอ., มน., มจ., มวล., ม.สุรนารีฯ มจธ., สจล. ฯลฯ
เอกสารงานวิจัยเต็มจากฐานข้อมูลต่างๆ เช่น
วช,
สวทช.
สกว.

 
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชา/หลักสูตร แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา/หลักสูตร
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียน-การสอน ควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
 
 
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
 
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของหลักสูตร การรายงานรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป