ความแข็งแรงของวัสดุ 1

Strength of Materials 1

1.1 เข้าใจหลักของแรงและความเค้น
1.2 อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด
1.3 คำนวณหาความเค้นและความเครียดในวัสดุภายใต้ แรงตามแนวแกน แรงบิด แรงตามแนวขวาง
1.4 คำนวณการโก่งตัวของคานภายใต้แรงกระทำลักษณะต่างๆ
1.5 วิเคราะห์หน่วยแรงรวมที่เกิดจากแรงชนิดต่างๆที่กระทำ ณ จุดใดๆของชิ้นส่วนโครงสร้างในเวลาเดียวกัน
1.6 เห็นถึงความสำคัญของวิชาความแข็งแรงของวัสดุ 1
มีการปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับสถานการณ์และเทคโนโลยีปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของแรงและความเค้น ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและ
ความเครียด ความเค้นในคาน แรงเฉือนและโมเมนต์ดัด การโก่งตัวของคานโดย
วิธีการรวมผลและวิธีการอินติเกรตสองชั้น แรงบิด หน่วยความเค้นประสม
Study of forces and stresses, stresses and strain relationship, stresses
in beams, shear force and bending moment diagrams, deflection of
beams with superposition and double integration method, torsion
and combined stresses.
1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม (3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
(5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
 
(2) แนะนำและยกตัวอย่าง ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด
(3) แบ่งกลุ่มงาน แบ่งกลุ่มทดสอบย่อย
(4) เปิดโอกาสให้มีการตั้งคำถามหรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้อง ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ
(5) อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ ปลูกฝังจรรณยาบรรณวิชาชีพ
(2)การขานชื่อ การให้คะแนนเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่มอบหมายตามเวลา
(3) นำเสนองานที่มอบหมายในชั้นเรียน
(4)สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ประเมินผลจากการเสวนา
(5) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ประเมินผลจากการเสวนา
(1)มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
(2)มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
(3)สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(4)สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
(5)สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
(1) สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
(2) สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
(3) อธิบายความเชื่อมโยงของความรู้ในวิชาที่ศึกษากับศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
(4) สอนโดยเน้นหลักทางทฤษฏีและการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
(5) สอน อธิบาย ยกตัวอย่างกรณีศึกษา
(1)งานที่มอบหมาย และ/หรือ การสอบย่อย และ/หรือ สอบกลางภาค และ/หรือ สอบปลายภาค
(2) งานที่มอบหมาย และ/หรือ การสอบย่อย และ/หรือ สอบกลางภาค และ/หรือ สอบปลายภาค
(3) งานที่มอบหมาย 
(4)งานที่มอบหมาย และ/หรือ การสอบย่อย และ/หรือ สอบกลางภาค และ/หรือ สอบปลายภาค
(5)งานที่มอบหมาย และ/หรือ ประเมินจากการเสวนา
(1)มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
(2)สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
(3)สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(4)มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
(5)สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
(1)แนะนำในห้องเรียน
(2) อธิบาย ยกตัวอย่าง
(3) สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง
(4) สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์
(5) สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
(1) สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
(2) งานที่มอบหมาย และ/หรือ การสอบย่อย และ/หรือ สอบกลางภาค และ/หรือ สอบปลายภาค
(3) งานที่มอบหมาย และ/หรือ การสอบย่อย และ/หรือ สอบกลางภาค และ/หรือ สอบปลายภาค
(4) งานที่มอบหมาย
(5) งานที่มอบหมาย
(4)รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
(5)มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
(4)แนะนำในห้องเรียน
(5)แนะนำในห้องเรียน
(4)สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ประเมินจากการเสวนา
(5)สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ประเมินจากการเสวนา
(1)มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
(2)มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
(4)มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญญลักษณ์
(5)สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
(1)สอน อธิบาย ยกตัวอย่างการใช้ Spreadsheet และ/หรือ Software ที่เกี่ยวข้อง
(2)สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง
(4) สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง
(5) ฝึกทักษะ ตามหัวข้อทางวิชาการให้นักศึกษาได้ปฏิบัติ
(1)งานที่มอบหมาย และ/หรือการสอบย่อย
(2) ตัวอย่าง, งานที่มอบหมาย และ/หรือการสอบย่อยและ/หรือ สอบกลางภาค และ/หรือ สอบปลายภาค
(4) ตัวอย่าง, งานที่มอบหมาย และ/หรือการสอบย่อย
(5) ตัวอย่าง, งานที่มอบหมาย และ/หรือการสอบย่อย
(1)มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2)มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
(1)สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง
(2) สร้างเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานกลุ่ม มอบหมายงานที่ส่งเสริมการวิเคราะห์และการแก้ปัญหา
(1)สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
(2) ประเมินจากงานที่มอบหมาย  ประเมินจากงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 ENGCV101 ความแข็งแรงของวัสดุ 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 - 2.5 3.1 – 3.5 4.4, 4.5 5.1 - 5.5 6.1, 6.2 สอบกลางภาค สอบย่อย สอบปลายภาค 9, 12, 18 30% 30% 30%
2 1.2, 1.3 2.1 - 2.5 3.1 – 3.5 4.4, 4.5 5.1 - 5.5 6.1, 6.2 การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5%
3 1.1 – 1.5 1 – 6 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5%
1 A. Pytel & F.L.Singer, Strength of Materials, 4th ed.
2 J.M.Gere & S.P.Timoshenko, Mechanics of Materials
3 PowerPoint ประกอบการสอน
-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2 ผลการเรียนของนักศึกษา
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ