ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมภายใน

History of Interior Architecture

ภายในเพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานแบบสถาปัตยกรรมภายในตะวันตกและตะวันออกในสมัยประวัติศาสตร์ เข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยและบริบทที่มีผลต่อการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมภายในสามารถจำแนก ประโยชน์ใช้สอย รูปแบบ เครื่องเรือน และราบละเอียดทางสถาปัตยกรรมภายในตะวันตก และตะวันออกแต่ละสมัย รวมทั้งเห็นคุณค่าของการศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมภายใน
วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้เกิดความทันสมัยเกี่ยวกับเนื้อหาวิชา และให้นักศึกษาสามารถค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตัวเอง ได้อย่างกว้างขวาง
คำอธิบายรายวิชา 
ศึกษางานสถาปัตยกรรมภายในตะวันตกและตะวันออกในสมัยประวัติศาสตร์


ปัจจัยและบริบทที่มีผลต่อการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมภายใน ประโยชน์ใช้สอย รูปแบบ เครื่องเรือน และรายละเอียดทาสถาปัตยกรรมภายใน
4 ชั่วโมง/ต่อสัปดาห์ เฉพาะรายที่ต้องการ  
1.1.1วินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
 
1.2.1อบรม นศ.เพื่อให้ตระหนักถึงความมีวินัย ขยัน อดทนและตรงต่อเวลา
1.2.2มอบหมายงานกลุ่มเพื่อพัฒนาด้านความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน พฤติกรรมการพัฒนาทางด้านความมีวินัย ขยัน อดทน รับผิดชอบในการทบทวนบทเรียน พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน การดูแลห้องเรียนและสภาพแวดล้อม

พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักศึกษา
มีความรู้และความเข้าใจด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา
บรรยาย อภิปราย จำลองสถานการณ์ สอบถามเพื่อทบทวนความรู้
 มอบหมายงานกลุ่ม
 สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 สอบเก็บคะแนนทุก3สัปดาห์ ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏี
 ผลงานที่มอบหมายมีความเข้าใจในเนื้อหาและองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษ
การอภิปรายในชั้นเรียน และ การนำเสนอผลงาน เพื่อความเข้าใจในเนื้อหาและทฤษฎี
ทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
 บรรยายโดยเน้นการสร้างความเข้าใจ และกระตุ้นให้นักศึกษาร่วมคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
 อภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพัฒนาปัญญา
มอบหมายงานที่ต้องค้นคว้าและวิเคราะห์ร่วมกัน
สอบย่อย  สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล
ผลงานที่นำเสนอมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
 มีความรับผิดชอบทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัว ให้ทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตาม
 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ สามารถใช้ความรู้ในวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 สร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานการรักษาสื่งแวดล้อม ตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
แบ่งกลุ่มร่วมอภิปราย เพื่อพัฒนาบทบาทผู้นำและผู้ตาม
 มอบหมายงานกลุ่ม เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์และความรับผิดชอบของนักศึกษา
ทักษะการสื่อสารสามารถถ่ายทอดความรู้และนำเสนอผลงาน ทั้งการพูดเขียน และใช้สื่ออื่นๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจ
มีทักษะการสื่อสารสามารถถ่ายทอดความรู้และนำเสนอผลงาน ทั้งการพูดเขียน และใช้สื่ออื่นๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจ
ฝึกทักษะการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
ประเมินทักษะนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน ผลงานและสื่อนำเสนองาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน จากการบันทึกกิจกกรมออนไลน์ พฤติกรรมการพัฒนาทางด้านความมีวินัย ขยัน อดทน รับ ผิดชอบในการทบทวนบทเรียน พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน การดูแลห้องเรียน และ สภาพแวดล้อม พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 10
2 ความรู้ สอบเก็บคะแนน ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏี ผลงานที่มอบหมายมีความเข้าใจในเนื้อหาและองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎี การอภิปรายในชั้นเรียนออนไลน์ และ การนำเสนอผลงาน เพื่อความเข้าใจในเนื้อหาและทฤษฎี 5,13 25
3 ทักษะทางปัญญา สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล ผลงานที่นำเสนอมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ 9และ18 65
1 ผศ.กิติ สินธุเสก. การออกแบบภายในขั้นพื้นฐาน:หลักการพิจารณาเบื้องต้น. โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มาวิทยาลัย . 2545
2 กำจร สุนพงษ์ศรี. ประวัติศาสตร์ศิลปะจีน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2531
3 ปัญญา เทพสิงห์. ศิลปะเอเชีย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2548
4 วิจิตร เจริญพักตร์. ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมตะวันตก.กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2543
5 สมศรี กาญจนสุต. พื้นฐานสถาปัตยกรรมประชาชนจำกัด. กรุงเทพฯ 2529
6 อนุวิทย์ เจริญศุภกุลและคณะ. สถาปัตยกรรมญี่ปุ่น. กรุงสยามการพิมพ์. 2512
7 Bauhaus Archiv,Magdalena Droste. Bauhas1919-1933. Bendik Tachen. 1993
8 Henri Stierlin. Encyclopedia of World Architecture Evergreen,Spain. 1977
9 John Pile . A history of Interior Design. Laurence King Publishing .United kingdom. 2005
10 Mary Gilliatt. Period Style. Little brown and company. 1990
11 Mary Jo Weale. Environtal interior. Macmillan Publishing.Co.Inc. 1982
12 Phyllis Bennett Oates. The Story Of Western Furniture. The Herbert Press
13 Robert Schmutzler. Art Nouveau. Harryn .Abrams.New York. 1977
14 Sembach:Leuthauser:Gossel. Furniture Design. Tachen. 1991
15 Winand Klassen. Hisory of Western Architecture. San Carlos Publications.1990
 
 
 
 
 
 
John Pile .A history of Interior Design. Laurence King Publishing . United kingdom. 2005
 
http://www.furniturestyles.
 http://www.galerieversailles.com
http://www.artsz.org
http://www.adriennechinn.co.uk
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านห้องสนทนา ที่อาจารย์ผู้สอนได้แนะนำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์ผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญ จากภายนอกสาขา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้ กับปัญหาที่ มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ