สัมมนาทางทัศนศิลป์

Seminar in Visual Art

1.1   เพื่อให้เกิดความรู้พื้นฐานในหลักการและโครงสร้างทางทัศนศิลป์
1.2.  เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในหลักการสัมมนาทางทัศนศิลป์
1.3.  เพื่อให้เข้าใจอิทธิพลและทฤษฎีในการสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์
1.4.  สามารถใช้กระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อนำมาปรับปรุง พัฒนาในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชาสามารถนำเสนอประเด็นที่เกี่ยวข้องกับผลงานศิลปะ อภิปรายร่วมกันและเสนอข้อคิดเห็น โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์
สามารถนำเสนอประเด็นที่เกี่ยวข้องกับผลงานศิลปะ อภิปรายร่วมกันและเสนอข้อคิดเห็น โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
1.2  ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
 การเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา และปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
คะแนนจิตพิสัย คะแนนความสนใจ ความกระตือรือร้น การส่งงานตรงเวลา
2.1  รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่สามารถประยุกต์ใช้กับงานทัศนศิลป์ทั้งทฤษฎี และปฏิบัติ
ประเมินการนำเสนอการค้นคว้าและการนำเสนอ การทำงานกลุ่มและผลงานเดี่ยวส่งงานตามที่มอบหมาย
3.2  สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
การฝีกปฏิบัติการสัมมนา โดยการสังเกตจากพฤติกรรมระหว่างชั่วโมงเรียน
ประเมินการนำเสนอการค้นคว้าและการนำเสนอ การทำงานกลุ่มและผลงานเดี่ยวส่งงานตามที่มอบหมาย
4.3  สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
การฝีกปฏิบัติการสัมมนา โดยการสังเกตจากพฤติกรรมระหว่างชั่วโมงเรียน
ประเมินการนำเสนอการค้นคว้าและการนำเสนอ การทำงานกลุ่มและผลงานเดี่ยวส่งงานตามที่มอบหมาย
5.1  สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
การฝีกปฏิบัติการสัมมนา โดยการสังเกตจากพฤติกรรมระหว่างชั่วโมงเรียน
ประเมินการนำเสนอการค้นคว้าและการนำเสนอ การทำงานกลุ่มและผลงานเดี่ยวส่งงานตามที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 BFAVA106 สัมมนาทางทัศนศิลป์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 2.2, 3.3, 4.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 18 30 % 40 %
2 2.1, 3.2, 4.3 ประเมินการนำเสนอการค้นคว้าและการนำเสนอ การทำงานกลุ่มและผลงานเดี่ยวส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.2 จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
          -  สุชาติ เถาทอง. วาดเส้น. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2536.
          -  อัศนีย์ ชูอรุณ. ความรู้เกี่ยวกับศิลปะภาพพิมพ์. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2543.
          -  กำจร สุนพงษ์ศรี. สุนทรียศาสตร์ หลักปรัชญาศิลปะ ทฤษฎีศิลป์ ศิลปะวิจารณ์. กรุงเทพฯ: 
             โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2559.
- องค์ประกอบศิลป์ (ศ.ชลูด นิ่มเสมอ)
- การวิจัยสร้างสรรค์ทัศนศิลป์ (ศ.สุชาติ เถาทอง)
- ความคิดสร้างสรรค์ (ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรุ่งโรชน์)
- การวิเคราะห์ทัศนศิลป์ (รศ.ดร.สมพร ธุรี)
- หนังสือเกี่ยวกับทัศนศิลป์
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับทัศนศิลป์
แบบประเมินอาจารย์ผู้สอน แบบประเมินรายวิชาในรูปแบบของใบประเมิน หรือการประเมินทางอินเทอร์เนต การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้สอนและผู้เรียน สังเกตการณ์จากพฤติกรรมผู้ร่วมชั้นเรียน
- การสังเกตการณ์ โดยผู้สอนผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนและทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การประเมินความคิดเห็นของนักศึกษา
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
          - นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลรายวิชา โดยปรับปรุงตามข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์อย่างต่อเนื่อง
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          - สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย