ทฤษฎีสี

Theory of Color

1.  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย  ความสำคัญ  คุณค่าของทฤษฎีสี และหลักการใช้ทฤษฎีสีในงานศิลปะ
2. เสริมสร้างเจตคติผู้เรียน ผ่านประสบการณ์เพื่อเกิดประโยชน์สอดคล้องกับสถานการณ์ของการศึกษาเรียนรู้ในปัจจุบัน
3.  ตระหนักและเห็นคุณค่าในการใช้สีสร้างสรรค์ผลงาน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการใช้สี เป็นพื้นฐานในการเรียนในวิชาศิลปะอื่นๆที่เกี่ยวข้องและเพื่อให้นักศึกษาตระหนักและเห็นคุณค่านำความรู้ ความเข้าใจไปใช้ในการสร้างสรรค์ผลงาน  สอดคล้องกับความก้าวหน้าตามยุคสมัย  
ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย  ความสำคัญ  คุณค่าของทฤษฎีสี  หลักการใช้ทฤษฎีสีในงานศิลปะ ทดลองปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการใช้ทฤษฎีสี ในการนำไปสร้างสรรค์ผลงาน
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
1.1  ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.2.1 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด  1.2.2 เน้นเรื่องการแต่งกายและการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องความระเบียบข้อบังคับ  ของมหาวิทยาลัย
1.3.1   การเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา  1.3.2   พฤติกรรมการเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้  1.3.3   สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตร์ใน 
     สาขาวิชาที่ศึกษา 
2.2.1  ใช้การสอนหลายรูปแบบโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  ใช้หลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติเพื่อให้เกิดองค์ความรู้  โดยใช้รูปแบบการสอนคือ แบบการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative) และการสอนแบบบรรยายเชิงปฏิบัติ 
  2.2.2  มอบหมายให้ทำรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียนและรวบรวมงานปฏิบัติในรูปแบบแฟ้มสะสมงานส่งปลายเทอม    2.2.3  มอบหมายงานกลุ่มโดยใช้หลักการทางทฤษฎีสีในการปฏิบัติตามหัวข้อหรือประเด็น  ที่กำหนด พร้อมทั้งนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3.1   ประเมินจากการสอบกลางภาคเรียน การสอบปลายภาคเรียน ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี  2.3.2   ประเมินจากผลการปฎิบัติงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์  2.3.3   ประเมินจากการค้นคว้าข้อมูลในการทำรายงาน  การนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
3.4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
  3.2.1   ส่งเสริมการเรียนรู้จากการสะท้อนความคิดและการประพฤติปฏิบัติ     3.3.2   มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์     3.2.3   ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง  แลกเปลี่ยนเรียนรู้  นำเสนอหน้าชั้นเรียน     
3.3.1   ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์
4.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
4.2.1   การนำเสนอผลงานหลังจากฝึกปฏิบัติให้สอดคล้องกับทฤษฎีที่ได้ศึกษา และร่วมกันวิพากษ์ผลงานอย่างมีส่วนร่วม
4.2.2 ส่งเสริมให้นักศึกษาได้ร่วมกิจกรรมที่สร้างสรรค์ต่างๆ
4.2.3 มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล
4.3.1   ประเมินจากการายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา  4.3.2   ประเมินจากการที่นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัย หรือคณะฯ
5.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอ
     ผลงานได้  อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆที่น่าเชื่อถือด้วยตนเอง และนำเสนอหน้าชั้นเรียน  5.2.2   การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.3.1   ประเมินจากการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีอภิปราย
1.มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.2.1 การสั่งงานปฏิบัติตามหัวข้อ
6.3.1  การตรวจประเมินผลงานตามหัวข้อที่กำหนด
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFAVA102 ทฤษฎีสี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2 , 6.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 18 20 % 20 %
2 2.2, 2.4 3.3, 3.4 4.1, 5.2 6.1 การนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล การปฏิบัติงาน การนำเสนอหน้าชั้นเรียน การใช้นำหลักการทฤษฎีสี ไปประยุกต์ใช้กับเทคนิคอื่นๆ การปฏิบัติงานกลุ่ม การค้นคว้าแหล่งข้อมูลสารสนเทศน์ ในการสร้างสรรค์ผลงาน การปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้อง ตลอดภาคการศึกษา 50 %
3 1.1 จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
ทวีเดช จิ๋วบาง. เรียนรู้ทฤษฏีสี. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส์, 2536.
เทียนชัย ตั้งพรประเสริฐ. เอกสารประกอบการสอนองค์ประกอบศิลป์ 1 ชศป. 2004. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง, 2540.
ธวัชชัย  ศรีสุเทพ. ชุดสีโดนใจ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2554.
ฟาบรี, ราล์ฟ.  ทฤษฏีสี. แปลโดยสมเกียรติ ตั้งนโม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, 2536.
วิรุณ ตั้งเจริญ.  ทฤษฏีสีเพื่อการสร้างสรรค์ศิลปะ. หนังสือชุด 60 ปี อารี สุทธิพันธุ์ 2534. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, 2535.
สกนธ์ ภู่งามดี. การออกแบบและผลิตงานโฆษณา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แซทโฟร์ พริ้นติ้ง, 2546
เสน่ห์  ธนารัตน์สฤษดิ์.  ทฤษฎีสีภาคปฎิบัติ.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, มปป.
เอกเทพ  ภักดีศิริมงคล. Hot  Hit  Web  Design & Art.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สวัสดี  ไอที, 2550
 
Chijiwa,H. Color harmony. Massachusetts: Rockport Publisher,1987.
Faber, B. Creative color. United States of America: Schiffer Publishing, 1987.
Gillow, J and Sentence, B. World textile: A visual guide to traditional techniques. . London: Thames & Hudson, 2000.
Hardy, A. Art deco textiles: The French designers. London: Thames & Hudson, 2003.
Heathcote, E. Cinema builders. Great Britain: Wiley-Academy, 2001.
Henderson, J. Casino design: Resorts, hotels, and themed entertainment spaces. Massachusetts: Rockport Publisher, (n.d.)
Hill, T, The watercolorist’s complete guide to color. Ohio: North light book Press, 1992.
Joyce,C. Textile design. New York: Watson-Guptill Publications, 1993.
Levine, M. Colors for living: Living rooms. Massachusetts: Rockport Publisher, (n.d.)
San Pietro, S. and Brabzaglia, C. Discorddesign in Italy. Milano: Edizioni l’archivolto, 2001.
Sawahata, L. Color harmony workbook. Massachusetts: Rockport Publisher, (n.d.)
เนื้อหาการสอนด้วยโปรแกรม Power point
- หนังสือเกี่ยวกับทฤษฎีสี
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีสี
แบบประเมินอาจารย์ผู้สอน แบบประเมินรายวิชาในรูปแบบของใบประเมิน หรือการประเมินทางอินเทอร์เนต การสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้สอนและผู้เรียน สังเกตการณ์จากพฤติกรรมผู้ร่วมชั้นเรียน
- การสังเกตการณ์ โดยผู้สอนผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนและทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การประเมินความคิดเห็นของนักศึกษา
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
          - นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลรายวิชา โดยปรับปรุงตามข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์อย่างต่อเนื่อง
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
          - สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย