โภชนาการ

Nutrition

1.1 เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงความหมายและความสำคัญของโภชนาการที่มีต่อสุขภาพ และการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของอาหารระหว่างการแปรรูปและการเก็บรักษา
1.2 เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงระบบการย่อยและการดูดซึมอาหารของร่างกาย
1.3 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงความต้องการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภค และโภชนาการของบุคคลในช่วงวัยต่าง ๆ สามารถนำความรู้ทางโภชนาการไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันในการเลือกบริโภคอาหารให้เหมาะกับภาวะโภชนาการของตนเองเพื่อสุขภาพที่ดี
1.4 เพื่อให้นักศึกษาทราบถึงวิธีประเมินภาวะโภชนาการ โภชนบำบัด และปัญหาโภชนาการในประเทศ
1.5 เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจฉลากโภชนาการและการกล่าวอ้างทางโภชนาการ
2.1 เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับโภชนศาสตร์ที่ทันสมัยในระดับสากล เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพชนิดใหม่ ๆ ที่เพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ หรือแก้ไขปัญหาโภชนาการ และงานวิจัยต่าง ๆ ทางด้านโภชนาการเพื่อให้เกิดแนวคิดในการพัฒนาไปสู่คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพร่างกายที่ดีต่อไป
โอกาสในสายงานด้านโภชนาการและวิทยาศาสตร์การอาหาร ศึกษาความหมาย ความสำคัญของโภชนาการ การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของอาหารระหว่างการแปรรูปและการเก็บรักษา ระบบการย่อยและการดูดซึม ความต้องการอาหารและสมดุลพลังงาน อาการและโรคที่เกิดจากความผิดปกติของการบริโภค โภชนาการของบุคคลในช่วงวัยต่าง ๆ วิธีประเมินภาวะโภชนาการ โภชนบำบัด ปัญหาโภชนาการในประเทศ ฉลากโภชนาการและการกล่าวอ้างทางโภชนาการ
Introduction to nutrition and food science career opportunities; a study of the meaning (definition) and importance of nutrition including nutrients; effect of processing on the nutrients; digestion and absorption of nutrients; nutritional demands and energy balance; symptoms and diseases caused by disorders of consumption; nutritional status of human among different age groups; nutritional assessment; nutritional therapy; nutritional problems in the country; nutrition labeling and nutrition claims.
    3.1 วันจันทร์ เวลา 15.00–16.00 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร โทร.0-5529-8438 ต่อ 1144
     3.2 E-mail.  unnop_tas@rmutl.ac.th  เวลา 19.00–20.00 น. วันจันทร์
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ
2 สอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม และส่งเสริมให้นักศึกษามีจิต สาธารณะ
3. สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
4. ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทำความดีและเสียสละ
1. การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
2. ความมีวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
3. ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
š2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2. ใช้การบูรณาการการ เรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning)/CDIO: (Conceiving - Desighing  -Implementing –Operating)  โดยมุ่งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
3. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรง มาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
 
ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อหรือบทเรียน
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. รายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. งานที่ได้มอบหมาย
5. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
6. แฟ้มสะสมผลงาน
š3.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และการบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning)/STEM Education
2. มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จัก วิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้บทบาทสมมุติสถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษา เพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้อง
1. บทบาทสมมุติหรือสถานการณ์จำลอง
2. การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่าง ๆ
3. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
4. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)กิจกรรมการบูรณการร่วมระหว่างการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
2. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา (Problem Base Learning) ในลักษณะของการทำงานเป็นทีม
3. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น รายงานบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4. การนำเสนองานด้วยวาจา
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น
1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน
2. พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
š5.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
˜5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
ดำเนินการสอนด้วยกิจกรรม Active Learning/Flipped Classroom ที่นักศึกษาต้อง ติดต่อสื่อสาร ค้นคว้าหาข้อมูล และนำเสนอผลจากการค้นคว้าโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น
1. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
2. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
3. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงาน
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของสังคมแต่ละกลุ่ม
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร
2. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
4. จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ และวัฒนธรรมสากล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ (Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) 4. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1 BSCFT301 โภชนาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและ 1.4 เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ - จำนวนครั้งการเข้าเรียนต้องเกิน 80% - การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน - การส่งงานตรงเวลา - คะแนนกิจกรรมส่วนมหาวิทยาลัย - ความมีน้ำใจต่อเพื่อนและคณาจารย์ ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ - การสอบกลางภาค (หน่วยที่ 1-4) - ไม่ทุจริตในการสอบ 9 35%
3 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ - การสอบปลายภาค (หน่วยที่ 5-8) - ไม่ทุจริตในการสอบ 18 35%
4 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม5.1 เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม - การนำเสนองาน/งานมอบหมาย 16-17 20%
อัญชลี ศรีจำเริญ.  2553. อาหารและโภชนาการ: การป้องกันและบำบัดโรค.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.  225 หน้า.
อัญชลี ศรีจำเริญ.  2555. อาหารเพื่อสุขภาพ: สารอาหารเชิงพันธภาพและกลไกการทำงาน.  พิมพ์ครั้งที่ 1.  สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.  181 หน้า.
มาตรฐานและกฎหมายอาหารต่าง ๆ
-  เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย.
-  วารสารอาหาร, Journal of Food Science และ Journal of Food Technology หรือวารสารอื่น ๆในฐานข้อมูล scopus หรือ sciencedirect
1.1 แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของรายวิชาจากหลักสูตร ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
1.2 แบบประเมินผู้สอนในแต่ละรายวิชาจากมหาวิทยาลัย ฯ โดยนักศึกษาเมื่อหมดภาคการศึกษา
2.1 หลักสูตรแต่งตั้งกรรมการประเมินการสอนรายวิชา โดยมีหัวหน้าหลักสูตร ในฐานะประธานหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อย 2 ท่าน เป็นผู้ทำหน้าที่ในการประเมินการสอน
2.2 ทำการประเมินทุกรายวิชาของหลักสูตรที่เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ซึ่งอาจบรรจุเป็นวาระในการประชุมหลักสูตร
3.1 ปรับปรุงหลักสูตรให้ตอบสนองความต้องการของประเทศที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารและ ธุรกิจด้านอาหาร การเปลี่ยนแปลงของโลก โดยพัฒนาหลักสูตรทุก 5 ปี
3.2 ปรับปรุงการสอนโดยเพิ่มเติมข้อมูลทางวิชาจากที่เป็นปัจจุบัน ทันสมัย และบูรณาการข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัย ข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ๆ ร่วมกับข้อมูลที่นักศึกษาประเมินจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมา เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้นแก่นักศึกษา
4.1 มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยการสัมภาษณ์อาจารย์ผู้สอน เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน วิธีการ/เกณฑ์ที่ใช้ในการประเมิน และปัญหาอุปสรรค
4.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นำผลการเปรียบเทียบหารือและทำความเข้าใจกับอาจารย์ผู้สอน พร้อมทั้งหาแนวทางพัฒนา
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4.1 และข้อมูลจาก มคอ.5
5.2 สับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน หรือจัดหาอาจารย์ผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญเพิ่มเติมเพื่อร่วมสอนในรายวิชาดังกล่าว
โดยหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมหลักสูตร เพื่อพิจารณาต่อไป