เศรษฐศาสตร์ทั่วไป

General Economics

     1. เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ ความเข้าใจในความหมาย และความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์

เพื่อให้เข้าใจถึงบทบาทของฝ่ายต่างๆ ที่อยู่ในระบบเศรษฐกิจ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปประกอบกับวิชาที่สูงขึ้นต่อไป เพื่อนำไปใช้สำหรับการประกอบธุรกิจ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้ไปประยุกต์กับสถานการณ์ปัจจุบันได้
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะพื้นฐานการใช้เครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรที่ทันสมัยกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป  และประยุกต์ใช้ความรู้ในรายวิชาได้อย่างเท่าทันการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ทั้งนี้ได้มีการติดตามความก้าวหน้า และการยกตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มในสาขาเกี่ยวข้องตามยุคสมัย โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ web based เพื่อสามารถเชื่อมโยงความรู้ในรายวิชานั้นๆ
ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ขอบเขตของวิชาเศรษฐศาสตร์ อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพของตลาด การผลิต พฤติกรรมผู้บริโภค การตลาด และการแข่งขัน รายได้ประชาชาติ และการมีงานทำ การเงิน การธนาคารและการคลัง การค้าระหว่างประเทศ การพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนปัญหาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษา 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) ดังนี้
    3.1  วันพุธ (คาบกิจกรรม) เวลา 15.00 - 17.00 น. ของทุกสัปดาห์ ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาการจัดการ  อาคารรัชมังคลานครินทร์    
           โทร. 081-4521585
    3.2   E-mail: Chutisornk@gmail.com ได้ทุกวัน
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. การสอนแบบยกตัวอย่างกรณีศึกษา
2. การสอนแบบสนทนาโต้ตอบ
3. การมอบหมายงานให้ทำเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
4.การสอนฝึกปฏิบัติเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
1. มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย ร้อยละ 85 ปฏิบัติตามกฎและสำเร็จตามกำหนด
2. การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
3. การสังเกตพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน ร้อยละ 80 เข้าตรงเวลา
4. การแสดงความคิดเห็นหรือการตอบคำถามอย่างเหมาะสมถูกต้อง
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การสอนฝึกปฏิบัติเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
2. การมอบหมายงานให้รายงานบันทึกขั้นตอนและผลการปฏิบัติงาน รวมถึงอุปสรรคปัญหาที่เกิดขั้นพร้อมการแก้ไข
3. การสอนแบบสนทนาโต้ตอบ
4. การอธิบายและการสาธิต
1. ผลการปฏิบัติงาน
2. การเขียนรายงานบันทึกผลการปฏิบัติงาน
3. การสัมภาษณ์
4. การสังเกตพฤติกรรมในการทำปฏิบัติงานเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. มอบหมายงานที่มีการใช้ทักษะทางการการเกษตรมาบูรณาการในการทำงาน
1. ผลการปฏิบัติงานและมีคุณภาพ
2. สังเกตพฤติกรรมการเลือกใช้วิธีการหรือทักษะในการใช้เครื่องมือพื้นฐานหรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมต่องานที่มอบหมาย
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนฝึกปฏิบัติเป็นรายกลุ่ม
2. การมอบหมายงานให้ทำเป็นกลุ่ม
1. การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียนและกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม
2. การสัมภาษณ์
3. การสังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติงานเป็นรายกลุ่ม
4. ผลการปฏิบัติงานและคุณภาพ
 
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. การสอนฝึกปฏิบัติงานการใช้เครื่องมือพื้นฐานและเทคโนโลยีทางการเกษตรเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
2. การมอบหมายงานให้ปฏิบัติ โดยให้มีการศึกษา สืบค้น วิเคราะห์ เพื่อนำความรู้ไปใช้ทางการเกษตร และ บันทึกรายงานผลเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
1. การเขียนรายงานบันทึกผลการปฏิบัติงาน
2. สังเกตพฤติกรรมการเลือกใช้วิธีการหรือทักษะในการใช้เครื่องมือพื้นฐานหรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมต่องานที่มอบหมาย
3. ผลการปฏิบัติงานและคุณภาพ
š6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. การมอบหมายงานให้ปฏิบัติ และ บันทึกรายงานผลเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคล
1. สังเกตพฤติกรรมการเลือกใช้วิธีการหรือทักษะในการใช้เครื่องมือพื้นฐานหรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมต่องานที่มอบหมาย
2. ผลการปฏิบัติงานและคุณภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 13061016 เศรษฐศาสตร์ทั่วไป
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 2.1, 2.2, 2.3. 3.1, 3.2, 4.4, 5.2 การสอบกลางภาค บทที่ 1-8 9 35%
2 1.2, 2.1, 2.2, 2.3. 3.1, 3.2, 4.4, 5.2 การสอบปลายภาค บทที่ 9-15 18 35%
3 1.2, 2.1, 2.2, 2.3. 3.1, 3.2, 4.4, 5.2 งานที่มอบหมาย (แบบฝึกหัด) งานที่มอบหมาย (รายงาน) 1-8, 10-17 10% 10%
4 1.2, 2.1, 2.2, 2.3. 3.1, 3.2, 4.4, 5.2 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน และความรับผิดชอบในรายวิชา 1-8, 10-17 10%
ชุติสร เรืองนาราบ. 2558. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาเศรษฐศาสตร์ทั่วไป  รหัสวิชา 13061016. น่าน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
 -

จรินทร์ เทศวานิช, สมนึก ทับพันธุ์ และสมศักดิ์ เพียบพร้อม. (2552). เศรษฐศาสตร์

         การเกษตร. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์หาวิทยาลัยสุโขทัย
         ธรรมาธิราช

จินตนา พรพิไลพรรณ และบุญธรรม ราชรักษ์. (2554). เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. จินตนา พรพิไลพรรณ และบุญธรรม ราชรักษ์. (2554). เศรษฐศาสตร์มหภาค 1. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.  จิรศักดิ์ สุรังคพิพรรธน์. (2549). เศรษฐศาสตร์ทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 1. เศรษฐศาสตร์ทั่วไป.

         กรุงเทพมหานคร: บริษัท ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น จำกัด.

 จิราภรณ์ ชาวงษ์. (2546). เศรษฐศาสตร์มหภาค: ทฤษฎีและนโยบาย. พิมพ์ครั้งที่ 2.

กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอช.เอ็น.กรุ๊ป จำกัด

 ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์. (2548). เศรษฐศาสตร์มหภาค ทฤษฎี นโยบายและการวิเคราะห์สมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นราทิพย์ ชุติวงศ์. (2554). หลักเศรษฐศาสตร์ I: จุลเศรษฐศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2.

         กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บันลือ คำวชิรพิทักษ์. (2543). เศรษฐศาสตร์การตลาดการเกษตร. กรุงเทพมหานคร:

สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

 ประพันธ์ เศวตนันทน์ และไพศาล เล็กอุทัย. (2539). หลักเศรษฐศาสตร์.  พิมพ์ครั้งที่ 4.

กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
 

  ประยงค์ เนตยารักษ์. (2550). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เศรษฐศาสตร์การเกษตร.

         มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปรีดา นาคเนาวทิม. (2541). เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พฤทธ์สรรค์ สุทธิไชยเมธี. (2555). ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).  ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร. (2557). เศรษฐศาสตร์เกษตรเบื้องต้น.

         พิมพ์ครั้งที่ 2.    กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แดเน็กซ์อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น จำกัด

รัตนา สายคณิต. (2545). เศรษฐศาสตร์มหภาค. เอกสารประกอบการบรรยาย. กรุงเทพมหานคร:  วิทยาลัยรัตนบัณฑิต. ราตรี สิทธิพงษ์ และชาลี ตระกูล. (2552). เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท. วเรศ อุปปาติก. (2535). เศรษฐศาสตร์การเงินและการธนาคาร. พิมพ์ครั้งที่ 4.  กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วันทนีย์ ภูมิภัทราคม, ทับทิม วงศ์ประยูร, วรุณี เชาว์สุขุม และสมยศ อวเกียรติ. (2540).

 เศรษฐศาสตร์ทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: บริษัท แมทส์ปอยท์ จำกัด.

วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2554). พิมพ์ครั้งที่ 19. หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาค. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2554). พิมพ์ครั้งที่ 14. หลักเศรษฐศาสตร์มหภาค. กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน. (2543). พิมพ์ครั้งที่ 5. เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ศรีเพชร เลิศพิเชษฐ, ศิรินันท์ ชลินทุ และกาพกนก ช่วยชู. (2542). หลักเศรษฐศาสตร์

  l. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์วังอักษร.
 
 

สถาบันพัฒนาความรู้ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2548).

      เศรษฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด
      (มหาชน).

สมลักษณ์ สันติโรจนกุล. (2555). เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์.  กรุงเทพมหานคร:

 สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.

สังวร ปัญญาดิลก, วลัย ชวลิตธำรง และสุพพตา ปิยะเกศิน. (2546.) เศรษฐศาสตร์

ธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุจินดา เจียมศรีพงษ์. (2554). เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุพัฒน์ อุ้ยไพบูรณ์สวัสดิ์. (2554). เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สุริยะ เจียมประชานรากร. (2543). หลักเศรษฐศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ. Andrew, B. & Ben, S. & Dean, C. Macroeconomics. (7th ed). New York: PEARSON. Baumol,W. & Blinder, A. (2008) Economics: Principles and Policy Microeconomics. (11th ed).  New York: Harcourt Brace Jovanovich, Publishers. McConnell,C. & Brue, S. (2005). Macroeconomics. (15th ed). New York: McGraw-Hill Schotter, A. Z (2009). Microeconomics: A Modern Approach. United States: SOUTH-WESTERN CENGAGE Learning
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรม ดังนี้
1.1) การสนทนาระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2) แบบประเมินผู้สอน หรือแบบประเมินรายวิชา 
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง โดยติดตามจากผลการเรียนและพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษา เพื่อเป็นแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ สัมมนา หรือฝึกอบรม และติดตามความก้าวหน้าขององค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนากลยุทธ์และวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอน
4.1) อาจารย์ผู้สอนทวนสอบจากคะแนนสอบหรืองานกิจกรรมหรือโครงการบูรณาการที่มอบหมาย
4.2) มีการพิจารณาความเหมาะสมของการประเมินผล วิธีการให้คะแนน (มคอ.3 หมวด 2-5) ที่สอดคล้องกับหลักสูตร (มคอ.2 หมวด 4) ให้ครอบคลุม ครบถ้วน และตรงตามที่หลักสูตรกำหนด
5.1) ทบทวนและปรับปรุงเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอนและจัดหาอุปกรณ์สื่อการสอนให้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
5.2) การประเมินผลผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ จากแบบทดสอบย่อย เพื่อจะได้ปรับปรุงกลยุทธ์การสอนให้เหมาะสมตามสถานการณ์