เครื่องยนต์สันดาปภายใน

Internal Combustion Engines

เพื่อให้เข้าใจหลักการพื้นฐานของเครื่องยนต์สันดาปภายใน เพื่อให้นำหลักการทางเทอร์โมไดนามิกส์ไปใช้กับวัฏจักรของเครื่องยนต์สันดาปภายใน เพื่อให้นำหลักการทางเทอร์โมไดนามิกส์ไปใช้ในกระบวนการสันดาปเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์สันดาปภายใน เพื่อให้เข้าใจหลักการ หาสมรรถนะเครื่องยนต์สันดาปภายใน และประสิทธิภาพเครื่องยนต์สันดาปภายใน เพื่อให้เห็นคุณค่าของวิชาชีพ นำความรู้ และหลักวิชาการไปใช้ในการประกอบอาชีพ ศึกษาหาความรู้เทคโนโลยีใหม่ ที่เกี่ยวข้องกับด้านเครื่องยนต์สันดาปภายใน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ มีความเข้าใจในหลักการของเครื่องยนต์สันดาปภายในทั้งเครื่องยนต์ที่จุดระเบิดด้วยประกายไฟและเครื่องยนต์ที่จุดระเบิดด้วยแรงอัด การผสม และการจ่ายเชื้อเพลิง การสันดาป ระบบจุดระเบิด วัฏจักรอากาศ มาตรฐานทางอุดมคติที่ใช้เชื้อเพลิงอากาศเป็นสารตัวกลางการซุปเปอร์ชาร์จและการกวาดล้างไอเสีย ระบบการหล่อลื่น สมรรถนะของเครื่องยนต์และการทดสอบเครื่องยนต์สันดาปภายใน
ศึกษาลักษณะการทำงานของเครื่องยนต์สันดาปภายในทั้งเครื่องยนต์ที่จุดระเบิดด้วยประกายไฟและเครื่องยนต์ที่จุดระเบิดด้วยการอัด การผสม และการการจ่ายเชื้อเพลิง การสันดาป ระบบจุดระเบิด วัฏจักรอากาศ มาตรฐานทางอุดมคติที่ใช้เชื้อเพลิงอากาศเป็นสารตัวกลาง การซุปเปอร์ชาร์จและ การกวาดล้างไอเสีย ระบบหล่อลื่น สมรรถนะของเครื่องยนต์และการทดสอบ
สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษา
1.1.1 มีจิตรสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
            1.1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
            1.2.1 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
            1.2.2 สอดแทรกความซื่อสัตว์ต่อตนเอง และสังคม
1.2.3 เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและ
การเป็นสมาชิกกลุ่ม
1.2.4 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.5 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของ
มหาวิทยาลัย
1.2.6 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.7 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3.1 ประเมินจาการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะ
เวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
            1.3.2 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
            1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิด
ชอบของนักศึกษา
            1.3.5 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการในเรื่องเครื่องยนต์สันดาปภายใน
            2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการนวัตกรรมและเทคโนโลยีเครื่องยนต์สันดาป
                 ภายใน
            2.1.3สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
            บรรยาย อภิปราย โดยใช้สื่อของจริงประกอบ มอบหมายให้ค้นหาทำรายงาน ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
            2.3.2 ประเมินจากการรายงาน การนำเสนอความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
            3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยาย อภิปราย ยกตัวอย่าง มอบหมายงานการบ้านที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์
            3.2.2 การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร
1.3.1 สอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการเข้าใจหลักการ และ
        วิเคราะห์ บูรณาการองค์ความรู้ในเนื้อหาของรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสน
เทศทางการศึกษา
            1.3.2 ประเมินผลจากการทำงาน การบ้าน และงานที่รับมอบหมาย
1.3.3วัดผลจากการประเมินจากรายงาน การนำเสนอผลงาน
            1.3.4สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 บรรยายอภิปลาย ยกตัวอย่างปัญหาที่เกิดขึ้นกับเครื่องยนต์บนท้องถนน และแนวทาง
                  แก้ไขโดยใช้สื่อของจริงประกอบ มอบหมายให้ค้นหาทำรายงานปัญหาอื่น ๆ
                  ที่อาจเกิดขึ้น หาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
            4.2.2การนำเสนองาน
4.3.1 ผลจากการประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็น
            4.3.2 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
                  เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
            5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม
            5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.2.2.2.3 3.1.3.2.5.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 35% 35%
2 1.1.1.3.2.1 2.2.2.3.3.1 3.2.4.4.5.2 การส่งการบ้านตามที่มอบหมาย การส่งงานตามที่มอบหมาย การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 30%
1.1 ยงยศ จินารักษ์. “เครื่องยนต์สันดาปภายใน” เอกสารตำราผลงานทางวิชาการ ภาควิชาวิศกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.มปป.
1.2 อำนาจ เจนจิตศิริ. “เครื่องยนต์สันดาปภายใน” เอกสารตำราผลงานทางวิชาการ ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. 2548.
1.3 เจษฎา ตันฑเศรษฐี. “เครื่องยนต์สันดาปภายใน” กรุงเทพฯ :เอช.เอ็น. กรุ๊ป จำกัด. 2546
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
                การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียน
                หลังจากการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
                            ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.2 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรง
คุณวุติที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
                            จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่างๆ
5.2 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4