ระเบียบวิธีวิจัยทางพืชศาสตร์

Research Methods in Plant Science

1. เพื่อให้ทราบจรรยาบรรณของนักวิจัย ประเภทงานวิจัย เทคนิคการดำเนินงานวิจัย
2. เพื่อให้เข้าใจแผนการทดลองต่างๆในงานวิจัยทางพืชศาสตร์
3. เพื่อให้เข้าใจการวิเคราะห์ข้อกำหนดทางสถิติ การแปลงข้อมูล การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม
4. เพื่อให้เข้าใจการวิเคราะห์ความแปรปรวน แปรปรวนร่วม สหสัมพันธ์ การถดถอย
5. เพื่อให้เข้าใจการใช้โปรแกรมสำเร็จในการวิเคราะห์ข้อมูล และ แปลผล
6. เพื่อให้เข้าใจ การเขียน โครงการวิจัย การเขียนรายงาน และ การนำเสนอ

 
เนื่องจากงานวิจัยทางพืชศาสตร์ มีการเปลี่ยนแปลงด้านการวิจัยร่วม ในหลายสาขา  จึงเพิ่มการใช้โปรแกรมสำเร็จในการวิเคราะห์ข้อมูล และ แปลผล และเทคนิคการ เขียนรายงาน และ การนำเสนอ
จรรยาบรรณของนักวิจัย ประเภทของงานวิจัย เทคนิคการดำเนินงานวิจัย แผนการทดลองต่างๆ ในการวิจัยทางพืชศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อกำหนดทางสถิติ การแปลงข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณา                การวิเคราะห์ความแปรปรวน ความแปรปรวนร่วม สหสัมพันธ์ และการถดถอย การใช้โปรแกรมสำเร็จช่วยวิเคราะห์ข้อมูล การแปลผล การสรุปและวิจารณ์ การเขียนรายงานวิจัย และการนำเสนอ
1 ชั่วโมง
1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
  1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
  1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบ และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
  1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีที่สามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน
2. มอบหมายงานให้นักศึกษาแต่ละคน เพื่อให้มีการฝึกฝนการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง เพื่อให้สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขเมื่อพบข้อขัดแย้งจากการทำงาน  ร่วมกัน
3.สอบย่อยเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาทบทวนบทเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1. เช็คชื่อการเข้าเรียน
ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ตามกำหนดที่ให้และตรงเวลา
2. ส่งรายงานมีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.ประเมินผลการเรียนรู้จากการสอบวัดผล
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและแนวทางปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
  2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. มอบหมายงานให้นักศึกษาแต่ละคน ได้ทำการวิเคราะห์ สรุปเนื้อหา
แลทำเพื่อให้มีการฝึกฝนการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง
2.   มอบหมายงานให้นักศึกษาทำงานกลุ่มโดยให้ทำการค้นคว้าเนื้อหาที่ได้เรียนเพิ่มเติม
3. มีการทดสอบโดยให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดหลังจากเรียน และมีการสอบย่อยเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาทบทวนบทเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
  3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. บรรยายยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ความรู้ทางการวิจัย
2.   ให้นักศึกษาร่วมแสดงความคิดเห็นหลังการบรรยาย
3. ให้นักศึกษาทำงานกลุ่มในหัวข้อที่กำหนด
1. การนำเสนอหน้าชั้นเรียน และการร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกันในห้องเรียน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
  4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กำหนดงานให้ทำเป็นกลุ่มโดยให้ปรึกษา แบ่งงานกันทำ และนำเสนอทุกคน 
1. ประเมินตนเองและเพื่อนจากกระบวนการทำงาน
2. กรรมการทำงานเป็นทีม และผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
  5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
  5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธภาพ
1. มอบหมายงานการค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต รวมถึงการส่งงาน ติดต่อการเรียนการสอน ผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์
2. ตรวจสอบการพูดภาษาไทย อังกฤษให้ถูกต้องเมื่อมีการใช้ในชั้นเรียน
1. ตรวจงานที่มอบหมาย  รวมไปถึงการสังเกตพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์เพื่อการค้นคว้าข้อมูล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะหืเชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 1 2 1 2 3 4 5 1 2 3 4
1 MSCPT101 ระเบียบวิธีวิจัยทางพืชศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,2.1,2.3,3.2,3.3 การสอบกลางภาค 8 30
2 2.1,3.2,4.1,4.2, 4.3,5.1,5.2,5.3 รายงานกลุ่ม 7 และ 16 25
3 1.1, 2.1,2.3,3.2,3.3 การสอบปลายภาค 16 30
4 1.1,1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-15 5
5 1.3,4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1-15 5
6 4.1,4.2,4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 8,15 5
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2550. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การวิเคราะห์เชิงสถิติในงานวิจัยด้าน
พืชศาสตร์. วันที่ 14 – 18 พฤษภาคม 2550. จ. นครปฐม. (เอกสารโรเนียว)
Andre’ Charrier, Michel Jacquot, Serge Hamon and Dominique Nicolas. 2001.
Tropical Plant Breeding. Science Publishers, Inc. U.S.A. 565 p.
Banga S.S. and S.K. Banga. 1998. Hybrids Cultivar Development. Narosa Publishing House.
          London. 536 p.
Basra Amarjit S. 1999. Hybrid Seed Production in Vegetables : Rationale and Methods in
          Selected Crops. J. of New Seeds, Volume 1, Number ¾. 135 p.
Bassett Mark J. Breeding Vegetable Crops. 1986. The AVI Publishing Company, Inc. 584 p.
Bosland P.W. and E.J. Votava. 2000. Peppers : Vegetable and Spice Capsicums.
CABI Publishing. USA. 204 p
Chahal G.S. and S.S. Gosal. 2002. Principles and Procedures of Plant Breeding :
          Biotechnological and  Conventional Approaches. Alpha Science International Ltd.
          U.K. 604 p.
Cooper M. and G. L. Hammer. 1996. Plant Adaptation and Crop Improvement.
CAB International. UK. 625 P.
Engels J. M.M. and L. Visser. A guide to effective management of germplasm
          collections. . IPGRI Handbooks for Genebanks No. 6. International Plant Genetic
          Resources Institute, Italy. 165 p.
Frankel R. and E. Galun. 1977. Pollination Mechamnisms, Reproduction and
Plant Breeding. Spriger-Verlag, Germany. 281 p.
Frankel R. , G.A.E. Gall, Linskens H.F. and D. de Zeeuw. 1977. Monographs on Theoretical
          and Applied Genetics 3. . Spriger - Verlag, Germany. 223 p.
Gepts, P. 2004. Crop domestication as a long – term selection experiment.
In Plant Breeding Reviews, Volume 21 ed. By Janick J. : 1 -151.
Hodgkin T., A.H.D. Brown, Th.J.L. van Hintum and E.A.V. Morales. 1995. Core Collection of
          Plant Genetic Resources. IPGRI John Wiley & Sons. UK. 269 p.
Hancock James F. 1992. Plant Evolution and the Origin of Crop Species.
Prentice Hall, Inc. U.S.A 305 p.
Johnson Greg I.,  Katinka Weinberger and Mei-huey Wu. 2008. The Vegetable Industry in
Tropical Asia. AVRDC. Taiwan. 67 p.
Kalloo Dr. 1988. Vegetable Breeding Volume I. CRC Press. U.S.A 239 p.
Kalloo Dr. 1988. Vegetable Breeding Volume III. CRC Press. U.S.A 174 p.
Kalloo G. and B. O. Bergh. 1993. Genetic Improvement of Vegetable Crops.
Pergamon Press Ltd., England. 833 p.
Kempton R.A. and P.N. Fox. 1997. Statistical Methods for Plant Variety Evaluation.
Chapman & Hall, U.S.A. 191 p.
Jain H.K. and M.C. Kharkwal. 2004. Plant Breeding Mendelian to Molecular Aproaches.
Narosa Publishing House, India.797 p.
Sleper D. A. and J. M. Poehlman. 2006. Field Crops 5 th edition Iowa State University Press,
          Ames USA. 424 p.
Rattan Lal Agrawal. Fundamentals of Plant Breeding and Hybrid Seed Production.
          Science Publishers, Inc. U.S.A. 387 p.
Reed B.M., F. Engelmann, M.E. Dulloo and J. M.M. Engels. 2004. Technical guidelines for
          the management of field and in vitro germplasm collections. IPGRI Handbooks for
          Genebanks No. 7. International Plant Genetic Resources Institute, Italy. 106 p.
 
Bassett Mark J. Breeding Vegetable Crops. 1986. The AVI Publishing Company, Inc. 584 p.
http://www.biotec.or.th/germplasm
ttp://www.plantbreeding.wur.nl/
http://aggie-horticulture.tamu.edu/archives/parsons/vegetables/seed.html
http://www.youtube.com/watch?v=V5a-coN2Xgg&feature=related
http://www.livinghistoryfarm.org/farminginthe30s/crops_03.html
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชาแล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียนนอกจากนี้ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน-การสอนควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชาได้จากคะแนนสอบนักศึกษา งานที่มอบหมายหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษารวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาโดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของหลักสูตร การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชาเสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะเพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป