การดูแลรักษาภูมิทัศน์

Landscape Maintenance

          1.  เพื่อเข้าใจความสำคัญของการดูแลรักษาภูมิทัศน์
          2.  เพื่อพิจารณาเลือกเครื่องมือ  วัสดุอุปกรณ์  ในการปฏิบัติบำรุงรักษา
          3.  เพื่อมีทักษะในการใช้เครื่องมือ  วัสดุอุปกรณ์  ในการดูแลรักษาภูมิทัศน์
          4.  เพื่อรู้วิธีการและมีทักษะในการดูแลรักษาภูมิทัศน์
          5.  เพื่อเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาภูมิทัศน์
เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จัก  จำได้  มีความเข้าใจ  หลักการดูแลรักษาภูมิทัศน์  สามารถนำหลักการมาใช้ในรายวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง  เพิ่มเติมกฎระเบียบข้องบังคับการดูแลรักษาภูมิทัศน์และการเรียนในระบบอินเตอร์เนต
ศึกษาและปฏิบัติการดูแลรักษาพฤกษชาติ การให้น้ำ ให้ปุ๋ย การตกแต่ง การศัลยกรรมต้นไม้ การพยุงลำต้น การเคลื่อนย้ายต้นไม้และการป้องกันกำจัดศัตรูต่างๆ อุปกรณ์ในการดูแลรักษา ตลอดจนสิ่งก่อสร้างต่างๆ ได้แก่สระว่ายน้ำ สระน้ำพุ ไฟสวนและอื่นๆ และการดำเนินธุรกิจการดูแลรักษางานภูมิทัศน์
 
ตลอดเวลาที่อาจารย์ผู้สอนว่างจากชั่วโมงสอน
-  ระเบียบวินัย เช่น  เวลาเข้าเรียน  การแต่งกาย  กำหนดเวลาของงานที่ได้รับมอบหมาย
-  ความรับผิดชอบ เช่น ความใส่ใจในการเรียน  การตอบคำถาม  ระเบียบของห้องเรียน 
-  ซื่อสัตย์ สุจริต เช่น การตอบคำถาม  การทำงานมอบหมาย  การทำรายงาน  การสอบ
-  บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง เช่น ผลกระทบของการตรงต่อเวลาที่มีต่อสังคมโดยรวม  การแต่งกายที่เป็นเอกลักษณ์ของสังคม  การส่งงานในระบบอินเตอร์เนต  ผลการศึกษาต่อการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น หรือผลการศึกษาต่อการเข้า  การทำงานที่มอบหมาย  การสอบด้วย    ความรู้  ความสามารถของตนเองโดยไม่ลอกเลียน เป็นต้น
   -  เวลาเข้าเรียน  การแต่งกาย  การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย  ประเมินเป็นระดับคะแนนรายบุคคล 
-  ความใส่ใจในการเรียน การตอบคำถาม ประเมินเป็นระดับคะแนนรายบุคคล 
-  ระเบียบของห้องเรียนประเมินเป็นระดับคะแนนรวมทั้งห้อง 
-  การตอบคำถาม  การทำงานมอบหมาย  การสอบ  ประเมินเป็นระดับคะแนนรายบุคคล
-  ความซื่อสัตย์  สุจริต  ประเมินเป็นระดับคะแนนรายบุคคล
  มีความรู้เกี่ยวกับหลักการเกี่ยวกับงานดูแลรักษาภูมิทัศน์  อุปกรณ์ในการดูแลรักษาภูมิทัศน์ดาดแข็งและดาดอ่อน  การดูแลสนามหญ้า  การดูแลรักษาพืชพรรณ  การดูแลรักษาสิ่งก่อสร้าง  การดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการดูแลรักษาภูมิทัศน์
- บรรยาย  งานให้ค้นคว้าบางหัวข้อส่งเป็นรายงาน  งานให้ศึกษาแล้วนำเสนอในห้องเรียนมอบหมายแบบฝึกหัด  ปฏิบัติงานดูแลรักษาภูมิทัศน์
 -  จากรายงานของงานค้นคว้า
-   การนำเสนอ
-   จากแบบฝึกหัด
-  จากการปฏิบัติงาน
-  ทดสอบย่อย 2 ครั้ง  สอบกลางภาคเรียน  สอบปลายภาคเรียน
-   พัฒนาความสามารถในการนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาไปเกี่ยวข้องกับงานจริง  สามารถปฏิบัติงานดูแลรักษาภูมิทัศน์ เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาโดยอ้างอิงความรู้จากภาคทฤษฎี
-  ยกตัวอย่างงานจริง
-  ใช้สื่อการสอนที่เป็นของใช้งานจริง
  -  อภิปรายกลุ่มกรณีศึกษาที่เป็นงานทางภูมิทัศน์ที่นักศึกษาสัมผัสได้
-  การตอบคำถามในห้องเรียน
-  ผลงานการอภิปรายของกลุ่ม
-  สอบกลางภาคและปลายภาค
-  พัฒนาทักษะในการสร้างความสัมพันธ์ภายในกลุ่ม
-  พัฒนาทักษะการเป็นผู้นำและผู้ตามในกลุ่ม
-  พัฒนาความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายของกลุ่ม
-  จัดกลุ่ม  กำหนดประธานกลุ่มสลับกันไปในแต่ละงาน
-  มอบหมายงานให้กลุ่มและงานย่อยในกลุ่มให้ประธานกลุ่มไปดำเนินการกับสมาชิกกลุ่ม
-  กลุ่มนำเสนองานภายในห้องเรียน
-  เพื่อนภายในห้องเรียนประเมินด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
-  ผู้สอนประเมินจากรายงานที่ส่ง  และการนำเสนอภายในห้องเรียน
-  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
- พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียนโดยการทำรายงาน และการนำเสนอในชั้นเรียน
- พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
- ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- พัฒนาทักษะการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อประมาณราคา
-  มอบหมายแบบฝึกหัดและกำหนดให้ทำด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อประมาณราคา
-  มอบหมายงานให้ค้นคว้าจากอินเทอเนต ส่งงานเป็นงานเอกสารโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อประมาณราคา
-  การนำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
-  การคิด  คำนวณ การเขียนตัวเลขอย่างถูกหลักการในแบบฝึกหัด
-  จากการใช้เทคโนโลยีในการทำรายงาน
-  จากการใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 2.2 3.1 3.2 การทดสอบย่อย 1-14 15%
2 1.3 2.2 3.1 3.2 การสอบกลางภาค 8 25 %
3 1.3 2.1 2.2 3.1 งานมอบหมายเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือในการดูแลรักษาภูมิทัศน์ 4-13 20 %
4 1.3 2.1 2.2 3.1 4.3 5.1 5.2 รายงานกลุ่มนำเสนอผลงานการดูแลรักษาภูมิทัศน์ 15 5%
5 1.2 2.2 3.1 3.3 5.2 สอบปลายภาค 18 25%
6 1.3 4.1 4.2 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-15 5%
7 1.3 4.1 4.2 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1-15 3%
8 1.3 4.1 4.2 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 15 2%
สมจิต  โยธะคง.  2545.  การจัดการดูแลบำรุงดูแลรักษาภูมิทัศน์.  พิมพ์ครั้งที่  1.  กรุงเทพมหานคร.วงตะวันการพิมพ์.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

    ข้อเสนอแนะผ่านเว็ปบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน ผลการเรียนของนักศึกษา การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้

สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร

มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4

เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา