เศรษฐศาสตร์และสถิติสำหรับวิศวกรรม

Economics and Statistics for Engineering

เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำความรู้เบื้องต้นของข้อมูลทางบัญชีและงบการเงินในอุตสาหกรรม การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์และการลงทุนต่อการเลือกอุปกรณ์ในกระบวนการผลิต การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การตีความหมายข้อมูลทางสิถิต และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์และสถิติ
เพิ่มองค์ความรู้และต่อยอดการวิเคราะห์ความเหมาะสมเชิงเศรษฐศาสตร์ กับการทำงานเชิงวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ
ความรู้เบื้องต้นของข้อมูลทางบัญชีและงบการเงินในอุตสาหกรรม การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์และการลงทุนต่อการเลือกอุปกรณ์ในกระบวนการผลิต การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การตีความหมายข้อมูลทางสิถิต และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์และสถิติ
Introduction to accounting data and financial statements in the industry, economic evaluation and investment for equipment selection in production, collection of data, presentation of data, analysis of data, interpretation of data and data processing of mathematics and statistics by using the package program.
5 ชั่วโมง
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความซื่อสัตย์ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

มีวินัย  ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา และโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ความรู้ทางชีวเคมีในอุตสาหกรรม
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม
1.3.1      ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2     ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3.3      ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4      ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.1     มีความรู้และเข้าใจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพื้นฐาน เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2     มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในรายวิชา
2.1.3     สามารถใช้ความรู้และทักษะในรายวิชาในการประยุกต์แก้ไขปัญหางานจริงได้
2.1.4     สามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องได้
2.1.5     สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสมได้
2.2.1   บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และโจทย์ปัญหา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ
2.2.2   การเรียนรู้ด้วยตัวเอง เพื่อวิเคราะห์ปัญหา และเปิดชั่วโมงอภิปราย ให้แสดงความคิดเห็นเชิงวิชาการเกี่ยวกับปัญหาที่กำหนดให้
2.2.3   พัฒนาแนวทางการสอนแบบออนไลน์ให้ได้ผลสัมฤทธิ์
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   สอบการลงมือปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
2.3.3   การประเมินจากการทำงานกลุ่ม อภิปรายและนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา และโจทย์ปัญหา
3.1.1   มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2   สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3   สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิทยาศาสตร์ชีวเคมีได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.4   มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.5   สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1   มอบให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติในการแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนดให้ และนำเสนอผลการแก้ไขหน้าชั้นเรียน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา หรือโจทย์ปัญหาที่เกิดขึ้นในสถานประกอบการ
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกิดขึ้นในสถานประกอบการ หรือข่าวต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.3.2   วัดผลจากการประเมินการคิด วิเคราะห์โจทย์  การนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการวางแผนในการคิดและตัดสินใจในโจทย์ปัญหาต่างๆ
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.3 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.1.4 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อม ทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
4.1.5 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการแก้โจทย์ปัญหา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2   ประเมินจากรายงานบุคคลที่ต้องใช้ข้อมูลจากเพื่อนร่วมชั้น   
5.1.1   มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาได้          เป็นอย่างดี
5.1.2     มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.3     สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.4      มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1.5     สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ จากการเก็บข้อมูลในการทดลองและในชีวิตประจำวัน และทำรายงานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2   การนำเสนอโดยรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- การทดสอบเชิงตัวเลข ยกตัวอย่างจากโจทย์วิจัย เชิงวิศวกรรม ทดสอบความสามารถการคำนวณผล
-สังเกตทักษะการนำเสนอผลการทดสอบ ผลการเรียน และงานที่ได้รับมอบหมายผ่านระบบออนไลน์
มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
มอบหมายงาน กลุ่ม นำเสนอผลการดำเนินงาน
ให้คะแนนผลงาน และสังเกตการทำงานเป็นทีม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGAG317 เศรษฐศาสตร์และสถิติสำหรับวิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.3, 3.3, สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 1 สอบกลางภาค สอบเก็บคะแนนครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5 9 13 18 5 20 5 30
2 1.3, 2.3, 3.3, 4,3 การปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ การนำเสนอ โครงงาน ตลอดภาคการศึกษา 10 5 15
3 1.3, 3.3, 4,3, 5.2, 6.2 การตรงต่อเวลา และการให้ความร่วมมือในการอภิปรายกรณีศึกษาในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
บุษบา พฤกษาพันธุรัตน์, เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม. 2555 
ห้องเรียนออนไลน์ ในระบบ Microsoft team
งานวิจัยด้านเศรษฐศาสตร์ สถิติ และวิศวกรรม 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3  แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาแลกเปลี่ยนการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
3.2   การวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจาก      การเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชาได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ