เขียนแบบเทคนิค

Technical Drawing

เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในงานเขียนแบบเทคนิค เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการบำรุงรักษาเครืองมือเขียนแบบ เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้เครื่องมือเขียนแบบ เห็นความสำคัญในงานเครืองมือเขียนแบบ

     5.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจมาตรฐานงานเขียนแบบเทคนิค
     6.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการเขียนแบบเครื่องจักรกล
    7.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการเขียนแบบและอ่านแบบเทคนิค
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีและอุปกรณ์เครื่องมือในการเขียนแบบ หลักการในการเขียนแบบและ สัดส่วนทางสถาปัตยกรรม
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ หลักการเขียนแบบเทคนิคการใช้และบำรุงรักษาเครื่องมือเขียนแบบ เขียนแบบเทคนิคการสร้างรูปเรขาคณิต การกำหนดขนาดของมิติมาตรส่วน หลักการฉายภาพมุมที่ 1 และมุมที่ 3 ภาพ3มิติ ภาพสเกตช์ ภาพตัด สัญลักษณ์เบื่องต้นในงานเขียนแบบช่างอุตสาหกรรมมาตรฐานต่างๆในงานเขียนแบบเครื่องกล ขนาดของกระดาษ ขนาดตัวอักษร ตัวเลข ชนิดและความหนาของเส้น วิธีเขียนแบบรูปทรงเลขาคณิตวิธีสร้างและการบอกขนาดของชิ้นงานการเขียนชิ้นงาน แผ่นงาน งานทรงเหลี่ยม ทรงกระบอก งานพีรมิตร ทรงกรวย ทรงกลม ภาพตัด ภาพตัดตรง ตัดเฉียงงานเจาะรู งานภาพตัดขนิดต่างๆ
 จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
อาจารย์จัดเวลาให้ค าปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห
ตระหนักถึงความสำคัญในการใช้ชีวิตภายใต้กรอบคุณธรรม จริยธรรม ในการทำงาน และความรับผิดชอบ ต่อส่วนรวม เคารพกฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม รวมทั้งมีความรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนมี ส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
บรรยาย และมอบหมายงานเพื่อปฎิบัติตลอดจนแนะนำการปฎิบัติตัวในการเรียนการสอนในรายวิชา
1.ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา 
2 ประเมินจากผลงาน ความเรียบร้อยของผลงาน การวางแผนในการทำงาน
1.เพื่อให้มีความรู้และความเข้าใจหลักการและทฤษฎีที่ส าคัญในเนื้อหารายวิชา
 2. มีความรอบรู้ในสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวเนื่องและศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง  
3. สามารถค้นคว้าหาข้อมูลและนำหลักการ ทฤษฏีและความรู้อื่นๆเข้ามาสร้างแนวทางและ แก้ไขปัญหาในการปฏิบัติวิชาชีพอย่างเหมาะสม
บรรยาย อภิปราย และการปฎิบัติงาน
ประเมินจากผลงานการปฎิบัติงาน 
1. มีทักษะในเรื่องการเขียนแบบ รูปทรง และงานทางสถาปัตยกรรม
2. มีกระบวนการทางความคิดและการท างานอย่างเป็นระบบ
3. สามารถวิเคราะห์เชื่อมโยง และทำความเข้าใจอย่างเป็นเหตุเป็นผล โดยบูรณาการความรู้ ในหลายๆด้าน สังเคราะห์แนวคิด เพื่อออกแบบและหรือสร้างสรรค์ตามกระบวนการทำงาน
การให้งานฝึกปฎิบัติ การนำเสนอผลงาน และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 
พิจารณาผลงานการปฏิบัติและการอธิบายตอบข้อซักถาม จากการนำเสนอผลงาน 
1.พัฒนาให้ผู้เรียนทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบตามคุณสมบัติหลักสูตรคือ มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งงานตนเองและสังคม
2. สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
การมอบหมายงานและร่วมอธิปลายกลุ่มย่อย 
1. ประเมินผลจากกิจกรรมและงานที่มอบหมาย
2. ความรับผิดชอบในการทำงาน
1.มีทักษะทางการสื่อสาร สามารถถ่ายทอดความรู้และนำเสนอผลงาน ทั้งการพูด การเขียน และการใช้ สื่ออื่นๆได้ 
2. สามารถนำการวิเคราะห์เชิงตัวเลขมาแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องในการทำงาน
 3.สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอแบบอย่างเหมาะสม
1.ฝึกให้มีการนำเสนอ การสื่อสารแสดงถึงแนวความคิด จินตนาการด้วยภาพ 
2. ฝึกให้มีการจัดระบบความคิด การวิเคราะห์ด้วยสื่อสัญลักษณ์ หรือภาพประกอบคำอธิบายที่กระชับ เข้าใจง่ายด้วยอุปกรณ์ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการนำเสนอ
1.ประเมินจากการสื่อสารแนวความคิด วิธีการนำเสนอผลงานให้เกิดความเข้าใจด้วยการแสดงภาพ 
2. ประเมินการเข้าเรียน และมีส่วนร่วม 
1.สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือสถิติประยุกต์ถ่ายทอด เป็นกราฟฟิกต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
2.สามารถเขียนแบบและอ่านแบบได้ 
3.สามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในงานที่เกียวข้องได้
บรรยายและทำแบบผึกหัดเพื่อเพิ่มสมถนะการเขียนแบบ
ประเมินจากงานที่ส่ง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. Mark Willenbrink. Drawing for the Absolute Beginner: A Clear & Easy Guide to Successful Drawing Nov 2, 2006. 
2. ธนวัฒน์เนตรสาน,วิชาเขียนแบบเบื้องต้น.กรุงเทพ : กระทรวงศึกษาธิการ, 2538.
3. Yee, Render. Architectural Drawing. City College : San Francisco, 1997.
4. เอกพงษ์จุลเสนีย์.,ผศ. หลักการเขียนแบบเบื้องต้น. กรุงเทพ : สถาบันเทคโนโลยีเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2537.
 
1. Francaise D.K.Ching. Architecture : Form, Space and Order. Machillgril Press: Boston,1976.
2. เฉลิม รัตนทัศนีย์. ศาสตราจารย์, การเขียนแบบสถาปัตยกรรม. กรุงเทพ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527.
1. การประเมินจากแบบทดสอบ ค าถามสิ่งที่ได้รับตามวัตถุประสงค์รายวิชา
2. การประเมินโดยการสังเกตจากผลการปฏิบัติงาน การท างานในชั้นเรียน โดยภาพรวม
3. การประเมินจากผลการเรียนของนักศึกษา 
1.การประเมินการสอนอาจารย์จากแบบสอบถามโดยนักศึกษา 
2.การประเมินผลจากกรรมการ
3.ประเมินจากรายงานการวิเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษา
มีการดำเนินการรวบรวมรายงานผลการดำเนินรายวิชาในภาคการศึกษานั้นๆและรวบรวมประเด็นปัญหาต่างๆ จัดประชุมปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนประจำปีการศึกษานั้นๆ เพื่อให้อาจารย์ผู้สอน และรับผิดชอบรายวิชานำไป ปรับปรุงรายวิชา และการจัดการเรียนการสอนในรายวิชา ก่อนการเปิดการเรียนการสอนในปีการศึกษาถัดไป
การตรวจสอบผลการเรียนและพฤติกรรมการเรียนการสอน เพื่อเปรียบเทียบและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน 
ตรวจสอบความสอดคล้องของคำอธิบายรายวิชาและ เนื้อหา ผลการเรียนและพฤติกรรมการเรียนการสอน เพื่อเปรียบเทียบและพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน