หัวข้อเลือกปฏิบัติการทางวิศวกรรมไฟฟ้า

Selected Practice Topics in Electrical Engineering

1. เพื่อปฏิบัติเกี่ยวกับหัวข้อซึ่งเป็นที่สนใจในหัวข้อต่าง ๆ ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า 2. เพื่อศึกษาและปฏิบัติการกับวิทยาการใหม่ ๆ ในสาขาต่าง ๆ ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าในขณะนั้น 3. เพื่อปฏิบัติกับพัฒนาการใหม่ ๆ ในสาขาต่าง ๆ ด้านโทรคมนาคมในขณะนั้น
เพื่อให้เนื้อหาทันสมัย และก้าวทันกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป
ปฏิบัติการเกี่ยวกับหัวข้อซึ่งเป็นที่สนใจในหัวข้อต่าง ๆ ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า หัวข้อเลือกหรือหัวข้อเทคโนโลยีทันสมัยทางหรือโทรคมนาคม ตามความเห็นของอาจารย์ผู้สอน
3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ง
สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง   สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง   การขานชื่อ   การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ   จัดศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเสริมการเรียนรู้            ฝึกการแก้ปัญหาจากการสร้างสถานการณ์จำลอง
การทดสอบย่อย สังเกตพฤติกรรมและจำนวนนักศึกษาที่เข้าศูนย์การเรียนรู้   การทดสอบย่อย
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction) มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
ประเมินผลการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง ประเมินผลการปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อ ส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม   ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น (Brainstorming )     ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ   พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล   สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย ส่งเสริมการค้นคว้า  เรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง  และให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล 
ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน   ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงาน
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
ทำ mini project โดยการบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำ mini project โดยอาศัยการเรียนแบบ PJB ในบางหัวสอน
ตรวจวัดผลงานที่อ้างอิงกับทฤษฎีได้ถูกต้องและส่งได้ถูกต้องตรงตามเวลา ตรวจวัดผลงานที่อ้างอิงกับทฤษฎีได้ถูกต้อง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGEE156 หัวข้อเลือกปฏิบัติการทางวิศวกรรมไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-4 1-7 8-11 1-14 1-14 1-14 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย การเข้าชั้นเรียนและการมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 4 8 12 17 ตลอดภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 10% 20% 10% 20% 20% 10% 10%
1. ดอนสัน ปงผาบ,  ไมโครคอนโทรลเลอร์และการประยุกต์ใช้งาน กรุงเทพฯ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทยญี่ปุ่น, 2559. 
2. ดอนสัน ปงผาบ, ภาษาซีและ Arduino, กรุงเทพฯ  สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทยญี่ปุ่น, 25560.
3. จีราวุธ วารินทร์, Arduino UNO พื้นฐานสำหรับงาน IOT,   สนพ. Prompt, 2561.
1. E-Book: ครูประภาส สุวรรณเพชร, เรียนร ู้และลองเล่น Arduino เบื้องต้น : https://gla.reru.ac.th/documents/KruPraphasArduinoBook.pdf
1.https://github.com/ 2. https://www.arduinoall.net/arduino-tutor 3. https://www.instructables.com/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2. ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ