โปรแกรมภาษาทางเลือก

Selected Programming Language

1. เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์เพิ่มเติม
2. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจโครงสร้างของภาษาคอมพิวเตอร์
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจโครงสร้างของภาษาคอมพิวเตอร์ทางเลือก
2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์จากภาษาคอมพิวเตอร์ทางเลือกได้
ศึกษาภาษาโปรแกรมอีกหนึ่งภาษาหรือมากกว่าที่เป็นกรณีศึกษา ภาษาที่เปิดสอนอาจเปลี่ยนแปลงได้ในแต่ละภาคการศึกษา และจะมีการแจ้งให้นักศึกษาทราบล่วงหน้า วัตถุประสงค์ของรายวิชานี้ คือ เพื่อให้นักศึกษาได้รู้จักภาษาโปรแกรมเพิ่มเติม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษานักศึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ สัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง (เฉพาะนักศึกษารายที่ต้องการ)
1. ตระหนักในคุณค่าและ คุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และ ความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 3. มีภาวะความเป็นผู้นําและ ผู้ตาม สามารถทํางานเป็นทีมและ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลําดับความสําคัญ 4. เคารพสิทธิและรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพใน คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์ 5. เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและ สังคม 6. สามารถวิเคราะห์ ผลกระทบจากการใช้ คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและ สังคม 7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ และวิชาชีพ
1. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน
2. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
3. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4. มอบหมายงานกลุ่มที่เสริมสร้างการวางแผนการทำงาน การทำงานเป็นทีม การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. การเข้าเรียนตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม
3. การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม
1. มีความรู้และความเข้าใจสถาปัตยกรรมและองค์ประกอบที่สำคัญของภาษาคอมพิวเตอร์ทางเลือก
2. มีความรู้และความเข้าใจการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ทางเลือก
3. มีทักษะการพัฒนาโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ทางเลือก
1. เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติตามใบงาน
3. ฝึกทักษะการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาทางเลือก
1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษทางเลือก
2. ประเมินจากผลการทำแบบฝึกหัดและฝึกปฏิบัติในห้องเรียน
3. ความรับผิดชอบในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
1. คิดและจำอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ
2. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
1. สาธิตตัวอย่างและกรณีศึกษา
2. มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าทำรายงานตามหัวข้อทีกำหนดให้และนำเสนอผลการเศึกษาค้นคว้า
3. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบจากกรณีศึกษา
1. สอบกลางภาคและสอบปลายภาค
2. ประเมินจากงานที่มอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานรายบุคคล
1. พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
2. พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
3. พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
1. จัดการเรียนการสอนที่เน้นการปฏิบัติและการทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย
2. สอดแทรกความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินผลความรับผิดชอบตามงานที่ได้รับมอบหมายทั้งงานกลุ่มและงานรายบุคคล
1. พัฒนาทักษะการคิดเพื่อการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาทางเลือก
2. พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน
3. พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
4. พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5. พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงาน จากการใช่้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ
2. นำเสนอรายงานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
2. ประเมินจากรายงาน
1. นักศึกษาสามารถพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้วยภาษาทางเลือกได้
2. นักศึกษาสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ด้วยภาษาทางเลือกได้
1. แสดงและฝึกปฏิบัติตามตัวอย่าง
2. มอบหมายงานให้นักศึกษา
พิจารณาจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่นักศึกษาพัฒนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สัปดาห์ที่ 1-3, สัปดาห์ที่ 1-8, สัปดาห์ที่ 10-12, สัปดาห์ที่ 12-15 สัปดาห์ที่ 1-3 ทดสอบย่อย, สัปดาห์ที่ 1-8 สอบกลางภาค, สัปดาห์ที่ 10-12 ทดสอบย่อย, สัปดาห์ที่ 12-15 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 4, 9, 13, 16 สัปดาห์ที่ 4 10%, สัปดาห์ที่ 9 25%, สัปดาห์ที่ 13 10%, สัปดาห์ที่ 16 25%
2 สัปดาห์ที่ 1-16 วิเคราะห์กรณีศึกษา การค้นคว้า การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 15%
3 สัปดาห์ที่ 1-16 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การแต่งกายและความประพฤติ ตลอดภาคการศึกษา 15%
1) จักรกฤษณ์ แสงแก้ว, 2549, การเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนด้วยตนเอง, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). 2) โชติพันธุ์ หล่อเลิศสุนทร และ ฐิตะพันธุ์ หล่อเลิศสุนทร, 2559, คู่มือเรียนเขียนโปรแกรม Python (ภาคปฏิบัติ), พิมพ์ครั้งที่ 1, นนทบุรี :  คอร์ฟังก์ชั่น.
Link สำหรับ Download โปรแกรม => https://www.python.org/downloads/
1) MarcusCode, (28 เม.ย. 2561), ภาษา Python, สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 25, 2561, เว็บไซต์ : http://marcuscode.com/lang/python 2) ทวีรัตน์ นวลช่วย, Python Programming, สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 25, 2561, เว็บไซต์ : https://sites.google.com/site/dotpython/installation/1-0-bthna 3) วิกิตำรา, (19 ก.พ. 2560), ภาษาไพทอน 3 สำหรับผู้ไม่เคยเขียนโปรแกรม/เริ่มต้น, สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 25, 2561, เว็บไซต์ : https://th.wikibooks.org/wiki/ภาษาไพทอน 3 สำหรับผู้ไม่เคยเขียนโปรแกรม/เริ่มต้น 4) สุชาติ คุ้มมะณี,(13 ม.ค. 2561) เชี่ยวชาญการเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน, สืบค้นเมื่อ พฤษภาคม 25, 2561, เว็บไซต์ : https://isan.msu.ac.th/suchart/Python/ProgrammingExpertwithPython.pdf 5)  เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
1. สังเกตจากพฤติกรรมของผู้เรียน
2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
3. แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการเรียนการสอนระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1. สังเกตการณ์จากการสอน
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอบในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน โดย
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2. การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และการให้คะแนนพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำงาน
จากผลการประเมินและและการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิภาพผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศ฿กษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ร่วมกับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ