การวางแผนภาษีอากร

Tax Planning

เพื่อศึกษาหลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษีและการหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมายไม่ขัดต่อจริยธรรมและมีความรับผิดชอบต่อสังคม รวมถึงความรับผิดชอบตามมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละด้านดังนี้ (ตาม Domain of Leaning)
เพื่อให้สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาในหลักสูตรและเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ศึกษาหลักการวางแผนภาษีอากร ข้อแตกต่างระหว่างการวางแผนภาษีกับการหนีภาษีและการหลบหลีกภาษี ศึกษาวิธีการประหยัดภาษีโดยถูกต้องตามกรอบของกฎหมายไม่ขัดต่อจริยธรรมและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษา
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
คุณธรรมจริยธรรมที่ต้องพัฒนา
ข้อ 1 (1) มีความรู้และความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
ข้อ 1 (2) มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
วิธีการสอน

เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการประเมินผล

ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ด้านความรู้
ความรู้ที่ต้องได้รับ
ข้อ 2 (1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
ข้อ 2 (2) มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
ข้อ 2 (4) สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัยและวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
วิธีการสอน

เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการประเมินผล

ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ด้านทักษะทางปัญญา
ทักษะทางปัญญาที่ต้องได้รับการพัฒนา
ข้อ 3 (1) สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีการซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
ข้อ 3 (2) สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กันใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหารวมทั้งเสนอแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
ข้อ 3 (3) สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
วิธีการสอน

เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการประเมินผล

ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
ข้อ 4 (1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ 4 (2) มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
ข้อ 4 (3) มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน
วิธีการสอน

เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการประเมินผล

ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีที่ต้องพัฒนา
ข้อ 5 (1) มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
ข้อ 5 (2) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
ข้อ 5 (3) สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมายและการสื่อสารสารสนเทศ
วิธีการสอน

เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการประเมินผล

ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
-
วิธีการสอน

เน้นหลักการทางทฤษฎีให้เป็นไปตามคำอธิบายรายวิชาโดยการบรรยาย การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการ ให้ทำแบบฝึกหัด มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
วิธีการประเมินผล

ประเมินจากกระบวนการคิด วิเคราะห์และการตอบปัญหา ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย ประเมินจากการทำแบบทดสอบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนหลัก

เอกสารประกอบการสอน

หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอน ที่สำคัญ

กรมสรรพากร. 2558. ความรู้เรื่องภาษี. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.rd.go.th/publish/286. 0.html. (2 มกราคม 2559)
ประมวลรัษฎากร ฉบับ ธิตินันท์ ปี 2558. 2558. กรุงเทพฯ: หจก.ธรรกมลการพิมพ์.
ไพรัช พรพันธ์เดชวิทยา. 2554. การบัญชีภาษีอากร. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมนิติเพรส จำกัด.
วนิดา กุลสุ. 2553. การบัญชีภาษีอากร. น่าน: วิทยาลัยเทคนิคน่าน.
เวก ศิริพิมลวาทิน. 2557. ภาษีเงินได้นิติบุคคลกับการบัญชี. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
สถาบันติว Home Ac & จิรศักดิ์ (อ.น้อย). 2558. เอกสารวิชา ประมวลฯ ภาษีเงินได้นิติบุคคล. กรุงเทพฯ:
สมคิด บางโม. 2557. การภาษีอากรธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท วิทยพัฒน์ จำกัด.
สุเมธ ศิริคุณโชติ และคณะ. 2558. ภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร 2558. กรุงเทพฯ: หจก. เรือนแก้ว
การพิมพ์.
1. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้เรียนหรือ
1.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย แก้ไข
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย แก้ไข
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2 พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา แก้ไข
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา แก้ไข
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2 นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร