ภาษาและวัฒนธรรมไทย

Thai Language and Culture

1.1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไทย
1.2 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไทยในความเป็นครู
1.3 เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาไทยฐานะเป็นเครื่องมือในการเรียนการสอนและการสื่อความหมาย
1.4 เพื่อใช้ภาษาและวัฒนธรรมไทยเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไทย  สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไทยในความเป็นครู  พัฒนาทักษะทางภาษาไทยฐานะเป็นเครื่องมือในการเรียนการสอนและการสื่อความหมาย  และใช้ภาษาและวัฒนธรรมไทยเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ศึกษาเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมไทย  ภาษากับการสืบทอดทางวัฒนธรรม  ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพื่อความเป็นครู  ทักษะการฟัง การอ่าน การพูด และการเขียนภาษาไทยสำหรับการเรียนการสอนและสื่อความหมายอย่างถูกต้อง การใช้ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ในการพูดและการเขียนอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
การบรรยาย  การอภิปราย  กระบวนการกลุ่ม  การใช้โครงการเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้(Project Base Learning) การเรียนรู้นอกห้องเรียน ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
1.3.1   พฤติกรรมที่แสดงออก  ได้แก่ ความตรงต่อเวลา  ความรับผิดชอบ ความเอาใจใส่  ความสนใจ และการมีส่วนร่วม
1.3.2   แฟ้มสะสมงานตลอดทั้งภาคเรียน
1.3.3   ประเมินผลการเรียนรู้จากโครงการเรียนรู้
1.3.4   ประเมินผลการสอบประเมินผลการเรียนรู้ (QE)
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถใช้ภาษาไทยในการติดต่อสื่อสารในงานอาชีพและในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 การบรรยาย  การอภิปราย  กระบวนการกลุ่ม
2.2.2 การใช้โครงการเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ (Project Base Learning)
2.2.3 การเรียนรู้นอกห้องเรียน ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
2.3.1   พฤติกรรมที่แสดงออก  ได้แก่ ความตรงต่อเวลา  ความรับผิดชอบ ความเอาใจใส่  ความสนใจ และการมีส่วนร่วม
2.3.2   แฟ้มสะสมงานตลอดทั้งภาคเรียน
2.3.3   ประเมินผลการเรียนรู้จากโครงการเรียนรู้
2.3.4   ประเมินผลการสอบประเมินผลการเรียนรู้ (QE)
3.1.1 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไทย
3.1.2 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไทยในความเป็นครู
3.1.3 เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาไทยฐานะเป็นเครื่องมือในการเรียนการสอนและการสื่อความหมาย
3.1.4 เพื่อใช้ภาษาและวัฒนธรรมไทยเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
3.2.1 การบรรยาย  การอภิปราย  กระบวนการกลุ่ม
3.2.2 การใช้โครงการเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ (Project Base Learning)
3.2.3 การเรียนรู้นอกห้องเรียน ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
3.3.1   พฤติกรรมที่แสดงออก  ได้แก่ ความตรงต่อเวลา  ความรับผิดชอบ ความเอาใจใส่  ความสนใจ และการมีส่วนร่วม
3.3.2   แฟ้มสะสมงานตลอดทั้งภาคเรียน
3.3.3   ประเมินผลการเรียนรู้จากโครงการเรียนรู้
3.3.4   ประเมินผลการสอบประเมินผลการเรียนรู้ (QE)
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
  4.1.2   มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  4.1.3   สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
  4.1.5สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในวิชาชีพประเด็นที่เหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 การบรรยาย  การอภิปราย  กระบวนการกลุ่ม
4.2.2 การใช้โครงการเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ (Project Base Learning)
4.2.3 การเรียนรู้นอกห้องเรียน ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
4.3.1   พฤติกรรมที่แสดงออก  ได้แก่ ความตรงต่อเวลา  ความรับผิดชอบ ความเอาใจใส่  ความสนใจ และการมีส่วนร่วม
4.3.2   แฟ้มสะสมงานตลอดทั้งภาคเรียน
4.3.3   ประเมินผลการเรียนรู้จากโครงการเรียนรู้
4.3.4   ประเมินผลการสอบประเมินผลการเรียนรู้ (QE)
5.1.1   พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลการพูดและการเขียนทางอินเทอร์เน็ต
 5.1.2   พัฒนาทักษะในการพูด การเขียน โดยการนำข้อมูลจากสื่อเสนอหน้าชั้นเรียน
 5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
 5.1.4   ทักษะในการนำเสนองานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 การบรรยาย  การอภิปราย  กระบวนการกลุ่ม
5.2.2 การใช้โครงการเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ (Project Base Learning)
5.2.3 การเรียนรู้นอกห้องเรียน ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
5.3.1   พฤติกรรมที่แสดงออก  ได้แก่ ความตรงต่อเวลา  ความรับผิดชอบ ความเอาใจใส่  ความสนใจ และการมีส่วนร่วม
5.3.2   แฟ้มสะสมงานตลอดทั้งภาคเรียน
5.3.3   ประเมินผลการเรียนรู้จากโครงการเรียนรู้
5.3.4   ประเมินผลการสอบประเมินผลการเรียนรู้ (QE)
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 พฤติกรรมที่แสดงออก ได้แก่ ความตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ ความเอาใจใส่ ความสนใจ และการมีส่วนร่วม แบบสังเกตพฤติกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 บันทึกผลการเรียนรู้แต่ละสัปดาห์ แฟ้มสะสมงาน ตลอดภาคการศึกษา 5 %
3 โครงการเรียนรู้ (Project Base Learning) ประเมินทักษะทางภาษาไทยโดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ สัปดาห์ที่16 55 %
4 ประเมินผลการเรียนรู้กลางภาค ประเมินผลการเรียนรู้ปลายภาค แบบประเมินผลการเรียนรู้(QE) สัปดาห์ที่ 8 สัปดาห์ที่ 18 15 % 15 %
พิศาพิมพ์ จันทร์พรหม. ภาษาและวัฒนธรรมไทย. กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดังนี้
2.1   การสังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์