ระเบียบวิธีวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology Research Methodology

1. เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาและค้นคว้างานวิจัยทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. เพื่อให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการระหว่างนักศึกษาด้วยกันเอง และอาจารย์
3. เพื่อให้นักศึกษาฝึกฝนและเรียนรู้การเสนองานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้ผู้อื่นเข้าใจใน
           สิ่งที่ตนเองได้ไปศึกษาค้นคว้ามา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ          ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกทักษะการพูดและการเขียนเชิงเทคนิค การสื่อสารทางวิชาชีพโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาบูรณาการกับศาสตร์อื่นๆ การสืบค้นงานวิจัย การนำเสนอโครงการ รายงาน การนำเสนอผลงาน การเขียนรายงานอย่างเป็นทางการ และการใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
         Study and practice of technical speech and writing, and professional communication by integrating information technology with other sciences, academic search, project presentation, reporting, formal academic writing and use of academic English.
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ  
มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม (1.2) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม (1.5)

                      3. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ (1.7)
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างการเขียนรายงานโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 

2. ฝึกปฏิบัติการเขียนโครงร่างของโครงงาน การเขียนรายงาน และการนำเสนอ   
3. กำหนดให้นักศึกษาค้นคว้าจากแหล่งต่างๆ      และนักศึกษาทุกคนต้องมีหัวข้อโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ผ่านการอนุมัติแล้ว คนละ 1 หัวข้อ
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3. ประเมินผลจากการนำเสนอหัวข้อโครงงาน และความก้าวหน้าของโครงงาน ฯ
4.  ประเมินผลจากเอกสารรายงานความก้าวหน้าของโครงงานฯ
1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการเเละทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ (2.1)
2. สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้ง ประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญูหา (2.2)
 
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ  ให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อหาหัวข้อโครงงาน ฝึกปฏิบัติการเขียนรายงานและการนำเสนอ      นำเสนอความก้าวหน้าของโครงงานฯ ต่อคณะกรรมการ ที่คณะ ฯ แต่งตั้ง
1. สอบหัวข้อโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ   และสอบความก้าวหน้าของโครงงานที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการที่คณะฯ แต่งตั้ง
2.ประเมินจากการนำเสนอหัวข้อโครงงาน การนำเสนอความก้าวหน้าของโครงงานและรายงานโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 บท
1. สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ (3.2)
2. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ (3.3)
1   การกำหนดให้นักศึกษาทุกคนต้องมีหัวข้อโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศโดยต้องนำเสนอโครงร่าง สอบหัวข้อโครงงาน สอบความก้าวหน้าของโครงงานต่อคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะ ฯ
2.   นำเสนอหัวข้อโครงงานที่จะทำและตอบคำถามจากคณะกรรมการ
3.   นำเสนอการวิเคราะห์และออกแบบระบบโครงงานฯ ที่ทำต่อคณะกรรมการ
1. สอบหัวข้อโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ   และสอบความก้าวหน้าของโครงงานที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการที่คณะฯ แต่งตั้ง
2.   ประเมินผลจากการนำเสนอต่อคณะกรรมการ และรายงานโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3 บท
3.   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาและตอบคำถามระหว่างการนำเสนอ
1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ (4.1)
2. สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม (4.5)
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.  มอบหมายให้ค้นคว้าและหาหัวข้อโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.   การนำเสนอหัวข้อโครงงานและความก้าวหน้าของโครงงาน
1. ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2.  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3.   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
1. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบ ของสื่อการนำเสนอ อย่าง เหมาะสม (5.3)
1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และสร้างโปรแกรมตามแนวคิดมาเป็นรูปแบบผลงานซอฟต์แวร์  และทำรายงานรูปเล่มรวบรวมผลงานโดยเน้นการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามมาตรฐานสากล และเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2.     นำเสนอโดยรูปแบบและวิทยาการเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน ผลงาน  และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2.   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย  วิธีการตอบ และการเขียนโปรแกรม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 3.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 5 7 1 1 2 8 2 3 1 5 3 4
1 BSCCT903 ระเบียบวิธีวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.7, 2.1, 3.1 สอบหัวข้อโครงงาน สอบความก้าวหน้าของโครงงาน 5,6,15 30% 40%
2 1.1.1,1.1.6, 1.1.7,2.1, 3.1,4.1.1 – 4.1.3,5.1.1-5.1.6 รูปเล่มรายงานของโครงการ บทที่ 1-3 ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. หนังสือเนื้อหาวิทยาการทางคอมพิวเตอร์ทุกเล่มที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อระบบงาน
2.  สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ, คู่มือการพิมพ์รูปเล่มปริญญานิพนธ์, 2552.  
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1. การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2. ผลการเรียนของนักศึกษา
3.   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2.   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
 
12 5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
1.   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2.   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ