ระบบฐานข้อมูล

Database System

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูล ระบบการจัดการฐานข้อมูล สามารถออกแบบระบบฐานข้อมูล โดยเป็นการออกแบบฐานข้อมูลเชิงแนวคิด การออกแบบฐานข้อมูลเชิงตรรกะ การออกแบบฐานข้อมูลเชิงกายภาพและเลือกใช้ระบบการจัดการฐานข้อมูลที่มีความเหมาะสมกับลักษณะงานได้ถูกต้อง รวมถึงสามารถวางแผนจัดการความปลอดภัยของระบบฐานข้อมูลได้
     เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล  เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบการเรียนวิชาโครงการนักศึกษาและใช้ในการทำงานในอนาคต
               ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล สถาปัตยกรรมระบบฐานข้อมูล แบบจำลองข้อมูล   การวางแผน การออกแบบและการบริหารฐานข้อมูล  แบบจำลองอีอาร์ การนอร์มัลไลเซชั่น ฝึกปฏิบัติการใช้คำสั่งภาษาเอสคิวแอล
               The study and practice of database system, database architecture, data model, database design and management, E- R model, normalization and SQL.
อาจารย์ประจำรายวิชา  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม (1.5)
1.1.๒ สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม (1.6)
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยี
          1.2.2 มอบหมาย และชี้แจงข้อกำหนดในการส่งงาน เพื่อฝึกในเรื่องการตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
         1.2.3 สอดแทรกคุณธรรม และจริยธรรมในระหว่างการพูดคุยซักถามปัญหา และให้คำปรึกษา
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (2.1) สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา (2.2) สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด(2.3) รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง (2.5) มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ (2.6)
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของวิชา โดยแสดงที่มาของทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ  ในเชิงวิเคราะห์ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงาน  กระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติ เพื่อให้เข้าใจ
ง่าย นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ใช้เครื่องมือด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง  โดย
     2.2.1  บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง
    2.2.2  ทำแบบฝึกหัดหรือใบงาน
    2.2.3  มอบหมายงานค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุป และนำเสนอ
2.3.1  ทดสอบกลางภาคและปลายภาคที่เน้นหลักการ  ทฤษฎีและปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจวิเคราะห์สังเคราะห์
2.3.2  ประเมินผลจากการทำแบบฝึกหัดหรือใบงานและนำเสนองานที่มอบหมาย
              3.1.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ   (3.1)
              3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ  (3.3)
              3.1.3 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่าง
เหมาะสม  (3.4)
3.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาวิเคราะห์ปัญหาในกรณีศึกษา นำความรู้ที่ได้เรียนมาแก้ไขปัญหาในกรณีศึกษา และนำเสนอผลการแก้ปัญหา
 3.3.1  การทดสอบ โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์กรณีศึกษาและประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา
 3.3.2  การประเมินแบบฝึกหัด ในการวิเคราะห์กรณีศึกษาและประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา
4.1.1  สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ (4.1)
4.1.2  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม (4.3)
4.1.3 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง  (4.6)
4.2.1  จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
              4.2.2  มอบหมายงานทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
4.3.1  ประเมินผลจากผลงานที่นักศึกษานำเสนอ
4.3.2  ประเมินผลจากการทำงานกลุ่ม
5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (5.1)
             5.1.2  สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม  (5.4)
              5.2.1  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองทางเว็บไซต์  แล้ววิเคราะห์พร้อมกับ
นำเสนอ  พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง
              5.2.2  นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล  พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
             5.3.1  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย  หลังจากฟังการนำเสนอผลการศึกษาของเพื่อน
             5.3.2  ประเมินจากรายงานการเขียน และการนำเสนอผลงานในรูปของเทคโนโลยี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลละความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 4 1 4 1 2 3
1 BSCCT203 ระบบฐานข้อมูล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การทดสอบกลางภาค ทดสอบ 8 30%
2 การทดสอบปลายภาค ทดสอย 17 30%
3 การค้นคว้ารายงาน การนำเสนอรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 การทำแบบฝึกหัดท้ายบท จำนวนแบบฝึกหัดที่ส่ง ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 การทำแบบฝึกปฏิบัติการ จำนวนแบบฝึกปฏิบัติการที่ส่ง ตลอดภาคการศึกษา 10%
6 การเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน จำนวนครั้งที่เข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1 กิตติ ภักดีวัฒนะกุล และจำลอง ครูอุตสาหะ. คัมภีร์ระบบฐานข้อมูล , 2544.
   1.2 โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. ระบบฐานข้อมูล (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ : ซี
เอ็ดยูเคชั่น, 2551.
สไลด์ประกอบการสอน แบบฝึกหัด และเอกสารอ่านเพิ่มเติมในเว็บไซต์
    - หนังสือที่เกี่ยวกับระบบการจัดการฐานข้อมูล
    - เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
    - e-Learning รายวิชา ระบบฐานข้อมูลสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอน  และแบบประเมินรายวิชา

    1.3  เปิดโอกาสให้นักศึกษาสอบถามผลการสอบเพื่อทราบถึงข้อผิดพลาด  และสามารถนำไปปรับปรุงตนเองและเตรียมพร้อมในการสอบครั้งต่อไป
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
       หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2  จึงมีการปรับปรุงการสอน  โดยการจัดกิจกรรมในการ
ระดมสมอง  และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
                     3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
                     3.2 วิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจาการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
       4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ  รายงาน  วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี  หรือตามข้อเสนอแนะและผลทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
 5.2  เปลี่ยนหรือสลับหรือเพิ่มอาจารย์ผู้สอน  เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับประสบการณ์ของอาจารย์หรือการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์