เขียนแบบเครื่องกล

Mechanical Drawing

1.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจมาตรฐานงานเขียนแบบเครื่องกล
2.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการเขียนแบบเครื่องจักรกล
3.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการเขียนแบบและอ่านแบบกลไกและเครื่องจักรกล
4.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในภาพตัดภาพฉาย รายการวัสดุในงานเขียนแบบเครื่องกล
5.เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเขียนแบบสั่งงานเครื่องกล
เขียนแบบเครื่องกล (Mechanical Drawing)
วิชาบังคับก่อน 51020103เขียนแบบเทคนิค
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวการเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องกลและการกำหนดสัญลักษณ์ตามมาตรฐาน เช่นเฟือง ต่าง ๆ เกลียว ลูกเบี่ยว แบริ่ง การกำหนดมาตรฐานความหยาบผิว การเขียนแบบงานสวม การเขียนแบบภาพประกอบ การเขียนแบบภาพแยกชิ้น ตารางรายการวัสดุ การสเกตแบบ การเขียนภาพตัด ภาพตัดย่อส่วน การฉายภาพช่วยตามมาตรฐาน Iso การเขียนภาพชิ้นส่วนเครื่องกล 2 มิติ การให้ขนาดตัวอักษรสัญลักษณ์การเขียนภาพ 3 มิติ
เขียนแบบเครื่องกล (Mechanical Drawing)
วิชาบังคับก่อน 51020103เขียนแบบเทคนิค
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวการเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องกลและการกำหนดสัญลักษณ์ตามมาตรฐาน เช่นเฟือง ต่าง ๆ เกลียว ลูกเบี่ยว แบริ่ง การกำหนดมาตรฐานความหยาบผิว การเขียนแบบงานสวม การเขียนแบบภาพประกอบ การเขียนแบบภาพแยกชิ้น ตารางรายการวัสดุ การสเกตแบบ การเขียนภาพตัด ภาพตัดย่อส่วน การฉายภาพช่วยตามมาตรฐาน Iso การเขียนภาพชิ้นส่วนเครื่องกล 2 มิติ การให้ขนาดตัวอักษรสัญลักษณ์การเขียนภาพ 3 มิติ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
 
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพวิศวกรรมทางเครื่องกล อย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่องานที่รับผิดชอบ 1.1.2 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายและสาธิตพร้อมยกตัวอย่างรวมทั้งมอบหมายงานเป็นรายบุคคล กรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบและสร้างแบบ ไม่ควรนำซอฟต์แวร์ผิดกฎหมายมาใช้
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และตรงเวลา 1.3.2 งานที่มอบหมาย
1.3.3 ส่งงานตามกำหนดตามระยะเวลา
1.3.4 งานมีความเรียบร้อยถูกต้องตามมาตรฐาน
2.1.1 การเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องกลตามเครื่องจักรที่ผลิต 2.1.2 การกำหนดสัญลักษณ์ มาตรฐานงานเขียนแบบ 2.1.3 เขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลตามลักษณ์แบบสั่งงาน 2.1.4 เขียนแบบสั่งงาน แบบภาพประกอบ และแบบแยกชิ้น 2.1.5 การเขียนแบบด้วยโปรแกรมที่ใช้ในการเขียนแบบทางวิศวกรรม
บรรยาย และสาธิตพร้อมยกตัวอย่าง ถามตอบ แสดงวิ๊ธิการ
 
2.3.1 งานที่มอบหมายการส่งงานตรงตามเวลา 2.3.2 สอบกลางภาค 2.3.3 สอบปลายภาค
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ แยกแบบ และการเขียนแบบสั่งงานได้อย่างถูกต้อง
3.2.1 มอบหมายงาน 3.2.2 นำเสนอวิธีการทำงาน ขั้นตอนการออกแบบ
3.2.3 การอ่านแบบเครื่องกล
 
3.3.1 งานที่มอบหมาย 3.3.2 การแก้ปัญหาและวิเคราะห์ปัญหา
3.3.3 การถามตอบคำถาม
3.3.4 ความรู้ความเข้าใจในงานเขียนแบบเครื่องกล
 
 
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานรายบุคคล 4.2.2 การนำเสนองาน
4.3.1 ประเมินจากการนำเสนอ 4.3.2 ประเมินจากงาน
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอ 5.1.2 ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข 5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
มีทักษะในการเขียนแบบเครื่องกล
มอบหมายงานให้ทำ
ตรวจงานและแนะนำสิ่งที่ถูกต้อง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในงาน เขียนแบบเครื่องกล 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีองค์ความรู้ในงานอ่านแบบเครื่องกล 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ในงานเขียนแบบเครื่องกล 4. เห็นความสำคัญในงาน เขียนแบบเครื่องกล สอบกลางภาค สอบปลายภาค การส่งงานท่ีได้รับมอบหมาน สัปดาห์ที่ 8 สัปดาห์ที่ 17 สอบกลางภาค 25 สอบปลายภาค 25 การส่งงานท่ีได้รับมอบหมาย 40 จิตพิสัยและการเข้าเรียน 10
1. มาตรฐานงานเขียนแบบของ DIN และ JIS 2. สุดยอดโปรแกรมสร้างชิ้นงานด้านวิศวกรรมด้วย Solid  works : วรวีร์  ไพฑูรย์รัตนชัย 3. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เล่มที่ 1 มอก.210-2520 –เล่มที่ 9 มอก. 210-2529. เรียบเรียง     สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม สำนักพิมพ์ 1 ปีที่พิมพ์ กระทรวงอุตสาหกรรม1 2520-29
ตารางโลหะ คู่มือเขียนแบบเครื่องกล มาตรฐานงานเขียนแบบเครื่องกล
ตารางโลหะ 2
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ขอบเขตของงานที่นักศึกษาทำ 2.3 ทวนการประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ