ทฤษฎีเครื่องล่างและส่งกำลัง

Chassis And Transmission

เพื่อให้สามารถศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างตัวถังรถยนต์ ระบบรองรับน้ำหนัก ระบบบังคับ
เลี้ยว ศูนย์ล้อรถยนต์ ระบบเบรก ระบบส่งกำลังและเกียร์รถยนต์
 ๒.๑  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างตัวถังรถยนต์
 ๒.๒  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับระบบรองรับน้ำหนัก
 ๒.๓  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับระบบบังคับเลี้ยว
 ๒.๔  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับศูนย์ล้อรถยนต์
 ๒.๕  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับระบบเบรก
 ๒.๖  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับระบบส่งกำลัง
 ๒.๗  เพื่อศึกษาเกี่ยวกับระบบเกียร์รถยนต์
เพื่อให้สามารถศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างตัวถังรถยนต์ ระบบรองรับน้ำหนัก ระบบบังคับเลี้ยว ศูนย์ล้อ รถยนต์ ระบบเบรก ระบบส่งกำลังและเกียร์รถยนต์
-  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์
          วันและเวลาเรียน
วันอังคาร  ๒ ชั่วโมง  ระหว่างเวลา ๐๘.๐๐ – ๑๐.๐๐ น.
ณ ห้อง 731
พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติของหลักสูตรดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม

                              7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาในประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการวินัย ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพในสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ อภิปรายกลุ่มกำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยฝึกการวิเคราะหและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น อภิปรายกลุ่ม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
    การศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างตัวถังรถยนต์ ระบบรองรับน้ำหนัก ระบบบังคับ
เลี้ยว ศูนย์ล้อรถยนต์ ระบบเบรก ระบบส่งกำลังและเกียร์รถยนต์
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem – based
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางด้านงานเครื่องยนต์แก็สโซลีนได้อย่างเหมาะสมพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   ให้นักศึกษาทฤษฎีเครื่องล่างและส่งกำลัง
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษาเครื่องล่างและส่งกำลัง
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาคทฤษฎี โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์องค์ความรู้ความสามารถทางด้านเครื่องล่างและส่งกำลัง
3.3.2   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ธุรกิจ หรือที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร
5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning  หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กับวิทยาการต่างๆ ที่ศึกษาเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่นและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างน้อยดังนี้
6.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่า
6.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
6.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
6.2.1 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม
6.2.2 เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
6.2.3 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่ิอเวลา การส่งงาน
6.2.4 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนทีเหมาะสม ถูกต้อง
6.2.5 ปฏิบัติตามกฏระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
6.2.6 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
6.3.1 มีการประเมินพฟติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2 มีการประเมินผลการทำงานในภาคทฤษีฏ
6.3.3 มีความประเมิน Term Project ของนักศึกษา (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1,6.2)
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
- หนังสือทฤษฎีเครื่องล่างและส่งกำลัง
- หนังสือปฎิบัติเครื่องล่างและส่งกำลัง
- CD และเอกสารทฤษฎีเครื่องล่างและส่งกำลัง
- เอกสารปฎิบัติเครื่องล่างและส่งกำลัง
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ