เขียนแบบวิศวกรรม

Engineering Drawing

1.1 รู้วิธีการเขียนตัวอักษร การมองภาพ การเขียนภาพออร์โธกราฟิกและการเขียนภาพสามมิติ
1.2 รู้วิธีการกำหนดขนาดและพิกัดความเผื่อ ภาพตัด ภาพช่วยและแผ่นคลี่
1.3 รู้วิธีการสเก็ตภาพด้วยมือ การเขียนภาพแยกชื้นและภาพประกอบ
1.4 รู้วิธีการการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบและออกแบบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจทางด้านการฝึกทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม ในการวิเคราะห์ข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล และการนำผลการวิเคราะห์ไประยุกต์ใช้ในทางวิศวกรรมศาสตร์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเขียนตัวอักษร การมองภาพ การเขียนภาพออร์โธกราฟิกและการเขียนภาพสามมิติ การกำหนดขนาดและพิกัดความเผื่อ ภาพตัด ภาพช่วยและแผ่นคลี่ การสเก็ตภาพด้วยมือ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบและออกแบบ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
-พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและจัดลำดับความสำคัญของงานที่ทำ
- เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
- จัดกิจกรรมกลุ่มให้ทำงานร่วมกัน
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานตามที่มอบหมาย
-บรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับจริยธรรม การมีวินัย ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อ
ตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
-ให้ศึกษาค้นคว้าและทำรายงานในหัวข้อที่กำหนดให้
-พฤติกรรมการเข้าเรียน การร่วมกิจกรรมและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
-มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
-ประเมินผลการออกแบบงานที่มอบหมาย
- การเขียนตัวอักษร การมองภาพ การเขียนภาพออร์โธกราฟิกและการเขียนภาพสามมิติ
- การกำหนดขนาดและพิกัดความเผื่อ ภาพตัด ภาพช่วยและแผ่นคลี่ การสเก็ตภาพด้วยมือ
- การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบและออกแบบ
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานตามที่มอบหมาย
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบภาคปฏิบัติ
- ตรวจงานที่สั่งรายบุคคล
- สอบปฏิบัติรายบุคคล
- พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการเขียนแบบทางวิศวกรรม
- มอบหมายงานให้นักศึกษารายบุคคลทำและให้ส่งงาน
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบภาคปฏิบัติ
- ตรวจงานที่สั่งรายบุคคล
- สอบปฏิบัติรายบุคคล
- มอบหมายให้ฝึกปฏิบัติและศึกษาค้นคว้าจากแหล่งความรู้ที่กำหนดให้
- นำเสนอโดยใช้สื่อความหมายได้ชัดเจน ถูกต้อง อ่านได้ง่าย
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
- พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
- ทักษะในการใช้เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- มอบหมายให้ฝึกปฏิบัติและศึกษาค้นคว้าจากแหล่งความรู้ที่กำหนดให้
- นำเสนอโดยใช้สื่อความหมายได้ชัดเจน ถูกต้อง อ่านได้ง่าย
- ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลาเครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ   มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี                                     
ถ่ายทอดความรู้การบริหารจัดการในด้านเวลาเครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ให้คำปรึกษาการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและ มีความร่วมมือกัน                                     
สังเกตุการบริหารจัดการในด้านเวลาเครื่องมือ อุปกรณ์ สังเกตุการปฎิบัติงานกลุ่มที่มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ                                     
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-4 1-7 8-11 1-14 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 9 12 18 10% 30% 10% 20% 20%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
- จำรูญ ตันติพิศาลกุล, เขียนแบบวิศวกรรม1 และเขียนแบบวิศวกรรม 2 ,พิมพ์ครั้งที่ 10 (ฉบับปรับปรุง), 2550 สำนักพิมพ์ หจก. สามลดา กรุงเทพฯ
- มานพ ตันตระบัณทิตย์, เขียนแบบวิศวกรรม (ระบบบISO และเมตริก), พิมพ์ครั้งที่ 7, 2548 สำนักพิมพ์ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทยญี่ปุ่น, กรุงเทพมหานคร
- อำนวย อุดมศรี, 2538, เขียนแบบทั่วไป(เขียนแบบเทคนิค), พิมพ์ครั้งที่2 , บริษัทสกายบุ๊กส์ จำกัด
- โปรแกรมเขียนแบบ Solid works 2007
- เว็บไซต์ google พิมพ์ค้นหา youtube + เขียนแบบวิศวกรรม
- เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
- เอกสาร e-learning
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ