วิศวกรรมระบบขนส่งทางรางเบื้องต้น

Introduction to Railway Transportation Systems

1.) เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจวิวัฒนาการของระบบขนส่งทางรางทั้งในและต่างประเทศ
2.) เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในภาพรวม องค์ประกอบและโครงสร้างพื้นฐานของระบบขนส่งทางราง
3.)  เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในหลักการทำงานของหัวรถจักร และขบวนรถไฟ รวมถึงองค์ประกอบของระบบล้อเลื่อนขั้นพื้นฐาน
4.) เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในระบบการเดินรถไฟเบื้องต้น
5.) เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในระบบอาณัติสัญญาณ และควบคุมการเดินรถเบื้องต้น
6.) เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในระบบการจ่ายไฟสำหรับการขับเคลื่อนรถไฟ การสื่อสารของระบบขนส่งทางราง และระบบไฟฟ้าที่ใช้ในระบบขนส่งทางราง
7. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจในเรื่องความปลอดภัยที่เกี่ยวข้องกับระบบขนส่งทางราง และการวางแผนการซ่อมบำรุงระบบขนส่งทางราง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับพัฒนาการระบบขนส่งทางรางจากอดีตถึงปัจจุบันของต่างประเทศ และประเทศไทย องค์ประกอบพื้นฐานของระบบขนส่งทางราง เช่น โครงสร้างทางรถไฟ ส่วนประกอบของรางรถไฟ สถานีรถไฟและชุมทางรถไฟ การบำรุงรักษาทางรถไฟเบื้องต้น ส่วนประกอบพื้นฐานของระบบล้อเลื่อน และขบวนรถไฟ อาทิเช่น ตัวรถไฟและขบวนรถไฟ ระบบโบกี้ ล้อ ระบบลากจูง ระบบเบรก ระบบกันสั่นสะเทือน ระบบเบรก ทฤษฎีพื้นฐานการควบคุม และบริหารระบบการเดินรถไฟ ระบบอาณัติสัญญาณสำหรับควบคุมการเดินรถไฟ ระบบขับเคลื่อนรถไฟด้วยไฟฟ้าในระบบขนส่งทางราง ระบบการจ่ายไฟสำหรับการขับเคลื่อนรถไฟ การสื่อสารของระบบขนส่งทางราง และระบบไฟฟ้าที่ใช้ในระบบขนส่งทางราง ระบบความปลอดภัยในระบบขนส่งทางรางเบื้องต้น การวางแผนและการบริการจัดการระบบขนส่งทางรางเบื้องต้น
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
2.ภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง ตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
3. สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
สื่อความสำคัญในจรรณยาบรรณวิชาชีพ ความมีศีลธรรม และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และผู้อื่น
การเข้าชั้นเรียน และการส่งงานมอบหมาย 5% ประเมินผ่านการนำเสนองานมอบหมาย 10%

 
1. มีความรู้และความเข้าใจในคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศษสตร์ เพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎี และปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านวิศวกรรม
3. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
4. สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตนในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
บูรณาการสอนภาคทฤษฏีด้วยใช้สื่อการสอนที่ทำให้นักศึกษาเข้าใจในงานด้านระบบขนส่งทางราง และฝึกปฎิบัติภาคสนามในหน้างานจริง รวมถึงการทำโครงงานเพื่อเสริมทักษะการเรียนรู้
-การฝึกปฏิบัติงานตามใบงาน และฝึกภาคสนาม 
-การทำโครงงานประจำรายวิชา
 
1.สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
แนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล การใช้เทคโนโลยีสารสนเทสมาช่วยในการแก้ปัญหา
รวมถึงการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยในงานออกแบบ และการแก้ปัญหาในหน้างานจริง
ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย
การแก้ไขปัญหาในห้องปฏิบัติการ
การแก้ไขปัญหาในหน้างานจริง
รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
การสอนโดยการบรรยายในภาคทฤษฎี สำหรับภาคปฏิบัติจะเน้นการศึกษษดูงาน การปฏิบัติงานในสถานประกอบการ รวใถึงการปฏิบัติตามใบงานที่มอบหมาย
ประเมินผ่านการนำเสนองานมอบหมาย
1. รู้จักบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
ให้นักศึกษาตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการเรียนรู้ และความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินผ่านการนำเสนองานมอบหมาย
1. มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
2. มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
3. สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
4. มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5. สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
ให้นักศึกษาตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อการเรียนรู้ และความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
- ประเมินผ่านงานที่มอบหมาย
- การฝึกปฏิบัติงานในห้องทดลอง
- การฝึกปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาภาคสนาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม และจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 4 5 1 2 4 5 1 2 4 5 3 4 3 4 5 1 2
1 ENGME142 วิศวกรรมระบบขนส่งทางรางเบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
เอกสารประกอบการสอน วิชาระบบขนส่งทางรางเบื้องต้น