กลยุทธ์การตลาดเพื่อการแข่งขัน

Competitive Marketing Strategies

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักการและวางแผนกลยุทธ์ทางการตลาด  
นักศึกษาสามารถเข้าใจในการสร้างกลยุทธ์เพื่อแสวงหาโอกาสทางการแข่งขันทางการ
ตลาดกลยุทธ์นำไปสู่การพัฒนาส่วนประสมทางการตลาด 
เพื่อเพิ่มศักยภาพโดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้มองเห็นแนวทาง การพัฒนากลยุทธ์การตลาดเพื่อนำหลักการไปประยุกต์ใช้
ในอนาคต และธุรกิจในอนาคต  
เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ตระหนักถึงความสำคัญในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม
การวิเคราะห์ตลาดและสภาพแวดล้อม การวิเคระาห์คู่แข่งขัน การวิคเราะห์ลูกค้าการบูรณาการหน้าที่การงาน
การตลาดกับหน้าที่อื่นๆ ของธุรกิจ การเลือกกลยุทธ์ให้เหมาะสมกับตลาดในภาวะต่างๆ  โดยวิเคระห์สภาพแวดล้อมภายในและ
ภายนอกธุรกิจ และกลยุทธ์ที่นำไปสู่ความได้เปรียบทางการแข่งขันพัฒนากลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลดา ที่บูรณาการหน้าที่งานการตลาดและหน้าที่อื่นๆ ของธุรกิจได้ 
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)
1. มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
1.สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
2.ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1. การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
1. . จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
2. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อนร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป
การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็น ใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม
1. พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
2. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
 
สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา
ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน
พฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ ตามหลักบูรณาการ การเรียนการสอนกับการทำงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 1. 1. 4. 2. 2. 1.
1 BBABA309 กลยุทธ์การตลาดเพื่อการแข่งขัน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค -8 -16 30% 30%
2 แบบฝึกหัด การวิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการทดสอบย่อยในชั้นเรียน - แบบฝึกหัด / กรณีศึกษา (เดี่ยว, กลุ่ม) / การทดสอบย่อยในชั้นเรียน -การจัดทำโครงงาน และการนำเสนอ ตลอด ภาคการศึกษา 30%
3 การเข้าชั้นเรียน - การเข้าชั้นเรียน / การมีส่วนร่วม / การเข้าร่วมกิจกรรม ตลอด ภาคการศึกษา 10%
อดุลย์ จาตุรงคกุล . กลยุทธ์การตลาด . กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , 2549.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ. กลยุทธ์การตลาด การบริหารการตลาดและกรณีตัวอย่าง. กรุงเทพฯ :พัฒนาศึกษา, 2538
 
เว๊บไซต์ที่สำคัญ
http://www.marketeer.co.th/
http://www.brandage.com
เสรี วงษ์มณฑา.กลยุทธ์การตลาด : การวางแผนการตลาด . กรุงเทพฯ : ไดมอนด์ อิน บิซิเนส เวิร์ลด์, 2542
จิรพร สุเมธีประสิทธิ์.กลยุทธ์การตลาด. กรุงเทพฯ : พัฒนาวิชาการ (2535), 2547
พรนภา คำมณี,, สมนึก โรจน์มงคลรัตน์,, ลักขณา ส่วนละม้าย, กลยุทธการตลาด. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์, 2550
วิไลลักษณ์ ซ่อนกลิ่น, กรรณิการ์ ศีลพิพัฒน์ และนุตประวีณ์ เลิศกาญจนวัติ.กลยุทธ์การตลาด .กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, 2549
หนังสือพ็อกเก็ตบุ๊คทางการตลาด
Lau Geok Theng, Wee Chow Hou. Marketing : Text and cases Singapore : McGraw-Hill, 1994
Philip Kotler and Kevin Lane Keller. Marketing Management. Pearson Education, 2010
นิตยสารทางการตลาด และหนังสือพ็อกเก็ตบุ๊คทางการตลาด
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ 1.2 การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ 1.3 การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2 การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1 การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา
4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงานในชั้นเรียน การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 รายงานผลการทวนสอบสัมฤทธิ์รายวิชา ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2 นำผลการทวนสอบสัมฤทธิ์รายวิชา ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร