การยศาสตร์

Ergonomics

ศึกษาเกี่ยวกับระบบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์ ขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์ การเคลื่อนไหวร่างกายมนุษย์ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการทางานของมนุษย์ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับผลิตภัณฑ์
มีจุดมุ่งเน้นให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านการยศาสตร์โครงสร้างของร่างกายมนุษย์ ขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์เพื่อใช้ในงานออกแบบ เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ ได้แก่การออกแบบผลิตภัณฑ์ ออกแบบเครื่องเรือน และโครงงานออกแบบผลิตภัณฑ์
ศึกษาเกี่ยวกับระบบโครงสร้างของร่างกายมนุษย์ ขนาดสัดส่วนมาตรฐานของมนุษย์ การเคลื่อนไหวร่างกายมนุษย์ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสมรรถภาพการทำงานของมนุษย์ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับผลิตภัณฑ์
อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับงานของนักศึกษาผ่านทางเว็บไซต์และเครือข่ายสังคมออนไลน์ อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายล่วงหน้าผ่านช่องทางออนไลน์)
 - ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
- บรรยาย
- มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
- มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
- ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
- ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
- ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
- มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ
- มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
- บรรยาย
- มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
- มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
- ประเมินจากการสอบข้อเขียน
- สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
- สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
- บรรยาย
- มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
- มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
- ประเมินจากการสอบข้อเขียน
- มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
- มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
- ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
- ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
- สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้ วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม สำหรับงานศิลปกรรม
- นำเสนอข้อมูล
- ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ)
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทาง ปัญญา 4.ทักษะความ สัมพันธ์ระหว่างบุคคล. และความรับผิดชอบระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะการพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID108 การยศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(1), 1(2) การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 1-8,9-16 10
2 2(1), 2(4) 4(3) ผลงานรายบุคคล / ผลงานกลุ่ม (แบบฝึกหัด / เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน) 2-16 40
3 2(2), 2(4) 3(1), 3(3), 4(3), 5(1), 5(2) การนำเสนองานที่ด้รับหมอบหมาย (วาจาและสื่อ) 2-16 10
4 2(1), 3(1) การสอบข้อเขียน (สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 8,17 40
นริศ เจริญพร(2548).เอกสารประกอบการสอนวิชาการยศาสตร์.ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะ
วิศวกรรมศาสตร์.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต.
          กิตติ อินทรานนท์(2548).การยศาสตร์ Ergonomics.สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.กรุงเทพ ฯ.
          วิจิตร ตัณฑสุทธิ์ และคณะ(2547).การศึกษาการทางาน Introduction to work study.พิมพ์ครั้งที่ 6. สานักพิมพ์
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.กรุงเทพ ฯ.
          วิฑูรย์ สิมะโชคดี และกฤษฏา ชัยกุล(2540).เออร์กอนอมิคส์ วิทยาการจัดสภาพงานเพื่อการเพิ่มผลผลิต
และความปลอดภัย.สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).กรุงเทพ ฯ.
          วัชรินทร์ สิทธิเจริญ (2547).การศึกษางาน work study.สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์.กรุงเทพ ฯ.
          สิริอร วิชชาวุธ(2549).จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การเบื้องต้น.พิมพ์ครั้งที่ 2 .สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.กรุงเทพ ฯ.
          นวลน้อย  บุญวงษ์ (2539).  หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
          นิรัช  สุดสังข์ (2548).  ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
          ธีระชัย  สุขสด  (2544). การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
          พรเทพ เลิศเทวศิริ. (2545). Design Education 1 รวมบทความและรายงานการวิจัยศาสตร์แห่งการออกแบบ.
กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
          กุศล ศรีอุทัย(2522) “คู่มือกายวิภาคศาสตร์ และสรีรวิทยา” นครราชสีมา: อักษรกิจการพิมพ์
          เกล็ดแก้ว ด่านวิวัฒน์(2543) “พื้นฐานกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์” กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
          จรัล ภาสุระ(2539) “เออร์กอนอมิกส์( Ergonomics) ศาสตร์เพื่อปรับสภาพแวดล้อมในการทางานประจำวัน” กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น
          วิมลสิทธิ์ หรยางกูร(2541)“พฤติกรรมมนุษย์ กับสภาพแวดล้อม มูลฐานทางพฤติกรรมเพื่อการออกแบบและวางแผน” กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
          บุญสนอง รัตนสุนทรากุล (2534) “การออกแบบเฟอร์นิเจอร์เบื้องต้น” กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาศิลปะอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง
          ทวิส เพ็งสา (2527) “การออกแบบเก้าอี้” กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาศิลปะอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง
          Don B. Chaffin, Gunnar B. J. Andersson, Bernard J. Martin. (2006). Occupational Biomechanics. 4rd Edition. New York. McGraw-Hill Inc
          Andris Freivalds, Benjamin Niebel (2008). Niebel's Methods, Standards, & Work Design.12th edition.
McGraw-Hill Inc.
          Dul, Jan(2001). Ergonomics for beginners : a quick reference guide. Boca Raton, N.Y. : Taylor & Francis.
          Grandjean, E.(1980).Fitting the Task for the Man: An Ergonomics Approach.2d ed.International Publications Service, New York.
          Konz, Stephan(2004). Work design : occupational ergonomics .6 th edition. Scottsdale, Arizona : Holcomb Hathaway.
          Wesley E.Woodson (1987).Human Factors Reference Guide for Electronics and Computer Professionals. McGraw-Hill .New York.
-
ให้นักศึกษาประเมินเมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนในประเด็นต่อไปนี้
1.1    ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

1.2    ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้

ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้ ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้ ข้อเสนอแนะอื่นๆ
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหรืออาจารย์ที่ได้รับมอบหมาย ดำเนินการดังต่อไปนี้ 2.1    ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ 1 2.2    สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน(โดยเพื่อนอาจารย์) ในประเด็นต่อไปนี้ •    ความตรงต่อเวลา •    การแต่งกาย บุคลิกภาพ •    คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม  •    การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน •    ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน •    ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ •    แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน •    จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา •    การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน 2.3    ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้ •    ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน •    ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน •    ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป  
สาขาวิชาออกแบบอุตสาหกรรม มีกลไกและวิธีการปรับปรุงการเรียนการสอนดังนี้
3.1    ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละคาบการสอน
3.2    ประชุม / สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้

ผลการศึกษาของนักศึกษา ผลการประเมินประสิทธผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ผลการประเมินการสอน บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
สาขาวิชาออกแบบอุตสาหกรรม มีกระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ดังนี้

การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร การประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายใน/ภายนอก
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม / ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้งพิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา  เพื่อกำหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษาต่อไป ทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล