การพันหม้อแปลงและมอเตอร์

Transformer and Motor Winding

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ การออกแบบและพันหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก มอเตอร์ แบบสปลิตเฟส มอเตอร์สามเฟส และ มอเตอร์พัดลม   เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนที่เกี่ยวข้องกับทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องต่อไป
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานและทักษะ การออกแบบและพันหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก มอเตอร์ แบบสปลิตเฟส มอเตอร์สามเฟส และ มอเตอร์พัดลม   เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ  เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้า
              ปฏิบัติการเกี่ยวกับการทำบ๊อบบิ้น การพันหม้อแปลงขนาดเล็ก การหาลำดับขั้ว การต่อหม้อแปลงเฟสเดียวกับระบบไฟสามเฟส การถอดประกอบมอเตอร์ ฝึกเขียนไดอะแกรม คำนวณพร้อมพันมอเตอร์สปลิตเฟส มอเตอร์สามเฟส และ มอเตอร์พัดลม
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ให้คำปรึกษาผ่าน Application  LINE
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
          พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
1.2.2  อภิปรายกลุ่ม
1.2.3  กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
1.3.1  พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2  มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3  ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4  ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
             เพื่อให้นักศึกษาตระหนักถึงจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ และเพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะเกี่ยวกับคณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อให้ส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณลักษณะเป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ทั้ง 5 ด้าน คือ
2.1.1  ด้านคุณธรรม จริยธรรม
2.1.2  ด้านความรู้
2.1.3  ด้านทักษะทางปัญญา
2.1.4  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
2.1.5  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
บรรยาย  อภิปราย ติดตามการทำงานกลุ่ม การวิเคราะห์กรณีศึกษาการดำเนินงาน ปัญหา อุปศักดิ์ของแต่ละกลุ่มตามหัวข้อโครงงาน การนำเสนอปริมาณงานโครงงานโดยนำมาสรุปและนำเสนอ
2.3.1 สอบความก้าวหน้า สอบปริญญานิพนธ์ โดยคณะกรรมการสอบหัวข้อโครงงาน
2.3.2  ประเมินจากการนำเสนอปริมาณงานระหว่างเรียน โดยอาจารย์ผู้สอน และอาจารย์ที่ปรึกษาหัวข้อโครงงาน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น  
3.2.1  การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานตามหัวข้อในรายวิชา 32089398 การเตรียมโครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า
3.2.2  การนำเสนอผลงาน
3.2.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในการนำหลักการทางด้านวิศวกรรมไปใช้
3.2.4  การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบความก้าวหน้าและปริญญานิพนธ์  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้
3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ  การนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1  จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2  การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1.1   ทักษะการคิดเชิงวิศวกรรม
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2    การนำเสนอรายงาน
  5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
  5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
      6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
      6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้จากวิชาต่าง ๆที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้
   6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน เดี่ยว และงานกลุ่ม
   6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการ
    6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
     6.3.2 มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ >
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคลและความ รับผิดชอบ 5.ด้านทักษะ การวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้าน ทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDEE103 การพันหม้อแปลงและมอเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1 - 2 สอบย่อย 1,5,9 ,12 10%
2 บทที่ 1 – 2 รายงาน แบบฝึกหัดท้ายบท การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10% 10% 60%
3 บทที่ 1 – 2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 5% 5%
เอกสารประกอบการสอน วิชาการพันหม้อแปลงและมอเตอร์ (สมนึก เครือสอน)
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
       1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
      1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
 3.2  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ