การตัดสินใจเพื่อการบริหารงานด้านโลจิสติกส์

Decision Making for Logistics

เพื่อศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดในการตัดสินใจโดยใช้หลักวิศวกรรม การตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ การกำหนดคุณลักษณะ ข้อมูล และการให้น้ำหนัก เทคนิคการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์โดยการกำหนดค่าคะแนน วิธีการแบบ TOPSIS วิธีการแบบ ELECTRE วิธีการแบบ PROMETHEE กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น การตัดสินใจแบบหลายคุณลักษณะโดยใช้ทฤษฎีฟัซซี่เซต
เพื่อให้นักศึกษาสามารถเทคนิค วิธีการ ทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวกับการตัดสินใจมาประยุกต์ใช้กับโจทย์ปัญหาทางด้านโลจิสติกส์และการตัดสินใจในชีวิตประจำวัน รวมถึงสามารถนำไปเป็นส่วนหนึ่งในเครื่องมือการทำปริญญานิพนธ์ และต่อยอดสู่การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น
ศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดในการตัดสินใจโดยใช้หลักวิศวกรรม การตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ การกำหนดคุณลักษณะ ข้อมูล และการให้น้ำหนัก เทคนิคการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์โดยการกำหนดค่าคะแนน วิธีการแบบ TOPSIS วิธีการแบบ ELECTRE วิธีการแบบ PROMETHEE กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น การตัดสินใจแบบหลายคุณลักษณะโดยใช้ทฤษฎีฟัซซี่เซต
สามารถนัดหมายอาจารย์ได้ตลอดเวลา
1.1.1  มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบสูงทั้งต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
 1.1.2  แสดงความซื่อสัตย์สุจริตอย่างสม่ำเสมอ
 1.1.3  ปฏิบัติหน้าที่ด้วยคุณธรรมและจริยธรรม
 1.1.4  เคารพในระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กรและสังคม
1.2.1 เน้นในเรื่องให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน และการส่งงานในเวลาที่กำหนด
1.2.2 ใช้กรณีศึกษาและการอภิปรายกลุ่ม
1.2.3 จัดกิจกรรมการพัฒนาคณะ / มหาวิทยาลัย / ชุมชน
1.3.1  เช็คชื่อการเข้าเรียน ตรวจสอบการส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2  พฤติกรรมการเข้าร่วมทำกิจกรรมการพัฒนาของนักศึกษา
1.3.3  ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4  ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
2.1.1  สามารถเข้าใจ แนวคิดและทฤษฎีพื้นฐานของการตัดสินใจ
2.1.2  สามารถนำแนวคิดและทฤษฎีไปประยุกต์ใช้ในภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมด้านโลจิสติกส์ได้
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานแล้วใช้หลักการตัดสินใจเป็นเครื่องมือ
2.2.2  มอบหมายให้ทดลองตัดสินใจ โดยใช้วิธีการฑั่วๆไปแล้ว นำมาสรุปและนำเสนอ
2.2.3  บรรยาย มอบหมายและนำเสนอรายงานศึกษากรณีศึกษาโดยนำทฤษฎีและหลักการของการตัดสินใจใช้ให้เกิดประโยชน์กับงานด้านโลจิสติกส์
2.3.1  ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2  ประเมินผลทักษะการนำหลักการตัดสินใจมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์อุตสาหกรรมและธุรกิจทางด้านโลจิสติกส์ได้
2.3.3  ประเมินผลจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1.1  พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาแล้วนำหลักการของการตัดสินใจมาปรับใช้และนำไปประยุกต์ในสถานการณ์จริง
3.1.2  พัฒนาความสามารถการแก้ปัญหาของธุรกิจ โดยนำหลักการและทฤษฎีของโลจิสติกส์และโซ่อุปทานมาอ้างอิงได้อย่างเหมาะสม
3.1.3  พัฒนาการใฝ่หาความรู้
3.2.1  มีการมอบให้นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษา บทความ ของการจัดการโลจิสติกส์และ  โซ่อุปทาน การทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงานให้ตรงตามวัตถุประสงค์
3.2.2 จัดการสอนแบบยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ วิเคราะห์กรณีศึกษา ฝึกปฏิบัติกับภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ โดยนำหลักการ การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มาใช้อย่างเหมาะสมพร้อมทั้งแก้ปัญหาในภาคธุรกิจให้มีประสิทธภาพ
3.2.3  มอบหมายงานการสืบค้นข้อมูลจากตำรา เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับระบบการขนถ่ายวัสดุ ให้มีการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ เพื่อเป็นการเรียนวิธีการแก้ปัญหาในสถานการณ์จริง
3.3.1  สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้หลักการ และทฤษฎีของระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
3.3.2  วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3.3  ประเมิลผลจากงานที่มอบหมายและการนำเสนอ
4.1.1  พัฒนาให้นักศึกษาสามารถทำงานกลุ่มหรือผู้อื่นได้
4.1.2  พัฒนาให้มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.1  จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา และการฝึกภาคปฏิบัติเป็นกลุ่ม
4.2.2  มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3.1  ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีมและการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1  พัฒนาทักษะการนำเสนอโครงงาน และรายงาน การสื่อสารความหมายโดยในเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.2  พัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอรายงาน
5.1.3  พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้
5.2.1  มอบหมายรายงาน โครงงานหัวข้อพิเศษเกี่ยวกับการวิเคราะห์ธุรกิจ โดยนำหลักของการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานมาใช้ และการนำเสนอ
5.2.2  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยให้มีการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.3  บรรยายและแนะนำหลักการพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติสำหรับการใช้งานในการวิเคราะห์ประเมินระบบโลจิสติกส์และประเมินโซ่อุปทาน นำเสนอกรณีศึกษาด้านวิศวกรรมโลจิสติกส์โดยเน้นการนำตัวเลข หรือสถิติมาอ้างอิง
5.2.4  มอบหมายงานนำเสนอบทความวิจัยหรือบทความวิชาการภาษาอังกฤษ รวมถึงการท่องคำศัพท์ที่เกี่ยวกับโลจิสติกส์
5.3.1  ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยตัวเลข และเทคโนโลยี
5.3.2  ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
5.3.3  ประเมินผลจากการทดสอบ และการสอบกลางภาคและปลายภาค
5.3.4  ประเมินจากการนำเสนอบทความและวัดผลจากคำศัพท์
6.1.1 พัฒนาทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา วิธีการปฏิบัติงาน
6.1.2  พัฒนาทักษะการปฏิบัติงานกลุ่มและการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
6.2.1  ผู้สอนแนะนำวิธีการนำหลักการโลจิสติกส์และโซ่อุทานมาวิเคราะห์ในธุรกิจตัวอย่าง
6.2.2  ควบคุมการฝึกปฏิบัติของนักศึกษาให้มีความถูกต้องตามวิธีการที่กำหนด
6.3.1  บันทึกผลเวลาการปฏิบัติ การใช้เครื่องมือ และประเมินจากรายงาน
6.3.2  ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 งานที่มอบหมาย แบบฝึกหัด รายงาน บทความวิจัย ความถูกต้องของเนื้อหา ความเข้าใจในเนื้องาน ตลอดภาคการศึกษา 30%
2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบข้อเขียน 9,18 30%, 30%
3 จิตพิสัย เช็คชื่อเข้าชั้นเรียน เช็คชื่อส่งงาน ความรับผิดชอบต่อส่วนรวม ความตั้งใจระหว่างเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
อภิชาต โสภาแดง. "การตัดสินใจเพื่อการบริหาร" มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทความวิจัยเกี่ยวกับ การตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์
แหล่งข้อมูลออนไลน์ที่เชื่อถือได้ ที่เกี่ยวกับการตัดสินใจ