การจำแนกอัญมณี

Gemstone Identification

1.1  มีทักษะในการจำแนกประเภทและชนิดของอัญมณีแท้ อัญมณีเทียม และอัญมณีสังเคราะห์
1.2  มีทักษะในการจำแนกสมบัติทางเคมี สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางแสง และลักษณะภายในของอัญมณีแท้ อัญมณีเทียม และอัญมณีสังเคราะห์ โดยใช้เครื่องมือพื้นฐานสำหรับตรวจสอบอัญมณี
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะในการใช้เครื่องมือพื้นฐานในการตรวจสอบอัญมณี เพื่อการจำแนกชนิดและประเภทของอัญมณี เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพทางด้านอัญมณีและเครื่องประดับทั้งนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีและแนวโน้มด้านต่าง ๆ ที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย  
          ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจำแนกประเภท ชนิด สมบัติทางเคมี สมบัติทางกายภาพ สมบัติทางแสง ลักษณะภายในของอัญมณีแท้ อัญมณีเทียม และอัญณีสังเคราะห์ โดยใช้เครื่องมือพื้นฐานสำหรับตรวจสอบ อัญมณี
         Practice dividing the species, variety, physical and optical properties, internal features of natural, imitated and synthetics gemstones using basic gem identification instrument
-  อาจารย์ผู้สอนประกาศช่วงเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
-  อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
     1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริตมีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
     1.2.1 สอดแทรกในการสอนเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต จรรยาบรรณในวิชาการและวิชาชีพ ความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
    1.3.1 การสังเกตพฤติกรรมผ่านห้องเรียนปกติและห้องเรียนออนไลน์ Microsoft team
     2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
     2.2.1 การอธิบายผ่าน RMUTL Education และการฝึกปฏิบัติผ่านห้องเรียนออนไลน์ Microsoft team
     2.3.1 ประเมินผลจากผลงานที่ปฏิบัติผ่านห้องปฏิบัติการและห้องเรียนออนไลน์ Microsoft team
     3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
     3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
     3.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูลผ่าน RMUTL Edication
     3.3.1  ประเมินจากผลงาน การปฏิบัติงาน และการนำเสนองาน
     4.1.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     4.2.1 สอดแทรกการสอนเรื่องความรับผิดชอบต่อตนเอง ความมีมนุษยสัมพันธ์ และการทำงานร่วมกับผู้อื่นผ่านห้องเรียนปกติและห้องเรียนออนไลน์ 
     4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมในรายวิชาผ่านห้องเรียนออนไลน์และห้องเรียนปกติ
     5.1.2  สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล เพื่อการส้รางสรรค์ผลงาน หรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     5.2.1  การเรียนรู้เทคนิคและการประยุกต์ใช้เครื่องมือวิเคราะห์อัญมณีซึ่งเป็นเทคโนโลยีในการปฏิบัติงานและการประมวลผล ผ่านห้องเรียนปกติและห้องเรียนออนไลน์ microsoft team
 
5.3.1  ประเมินผลจากการเลือกใช้เครื่องมือและการประมวลผลที่ถูกต้อง
     6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
     6.2  การปฏิบัติงานตามขั้นตอนในใบงาน
     6.3.1  ประเมินผลจากสภาพจริงของการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ุุ6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ144 การจำแนกอัญมณี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การสังเกตพฤติกรรม 1-17 ร้อยละ 10
2 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง ประเมินผลจากผลงานปฏิบัติ 1-17 ร้อยละ 50
3 - สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ - สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ ประเมินผลจากผลงาน การปฏิบัติงาน และการนำเสนองาน 10 และ 11 ร้อยละ 10
4 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมในรายวิชา 1-17 ร้อยละ 10
5 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล เพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประเมินผลจากการเลือกใช้เครื่องมือและการประมวลผลที่ถูกต้อง 10,11 ร้อยละ 10
6 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ ประเมินจากสภาพจริงของการปฏิบัติงาน 1-17 ร้อยละ 10
ปัญจวรรณ ธนสุทธิพิทักษ์, 2546, อัญมณีวิทยาเบื้องต้น, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปัญจวรรณ์ ธนสุทธิพิทักษ์, 2552, อัญมณีธรรมชาติ อัญมณีสังเคราะห์ อัญมณีเลียนแบบ อัญมณีปรับปรุงคุณภาพ, ภทระพรีเพรส : เชียงใหม่.
สุมาลี เทพโสพรรณ, 2538, วิเคราะห์อัญมณี พิมพ์ครั้งที่ 4, ด่านสุทธาการพิมพ์ : กรุงเทพฯ
เสรีวัฒน์ สมินทร์ปัญญา, 2550, หลักการวิเคราะห์อัญมณี, สุวีริยาสาส์น : กรุงเทพฯ
Anderson, B. and Payne, J. Edited by Mitchell, R.K., 2006, The Spectroscope and Gemmology, Gemstone Press, Woodstock, USA,
        269p.
Gubelin, E.J., and Koivula, J.I., 2004, Photoatlas of Inclusions in Gemstone, Gemological Institiue of America, USA, 532p.
Hurlbut, C.S., Jr., and Kammerling, R.C., 1991, Gemology Second Edition, John Wiley & Sons Inc., USA, 352p.
Michael, O.D., 1997, Synthetic, Imitation and Treated Gemstones, Butterworth-Heinemann, Great Britain, 224p.
Liddicoat, Jr., R.T., 1993, Handbook of Gem Identification, 12th edition, Gemological Institute of America, Santa Monica, California,
        364p.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้โดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.2   การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   ทบทวนเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์ที่กำหนด
3.2   หาแนวทางและวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา โดยมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2  การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุง การสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2  การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา