วิศวกรรมการทาง

Highway Engineering

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบงานทางหลวง การทดสอบวัสดุการทาง    ออกแบบทางด้านเรขาคณิต  วัสดุที่ใช้ในงานทาง   วิธีการก่อสร้างทางและการบำรุงรักษาทาง และเห็นความสำคัญของงานด้านวิศวกรรมการทาง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในงานทาง เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้ในการทดสอบวัสดุงานทาง วิเคราะห์และออกแบบงานทาง และเพื่อนำไปปฏิบัติใช้ได้จริงในการควบคุม การสร้างทางและออกแบบงานถนน หรือนำไปประยุกต์ใช้กับวิชาอื่นได้     
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับประวัติทางหลวง การจัดระบบทางหลวง การทดสอบคุณสมบัติของวัสดุการทาง ดิน มวลรวม และแอสฟัลต์ เพื่อการออกแบบการทดลองส่วนผสมของแอสฟัลต์คอนกรีต ทดสอบเพื่อควบคุมงานก่อสร้างถนน หลักการออกแบบถนนลาดยางและถนนคอนกรีต โค้งทางราบ และทางดิ่ง วัสดุคันทางและผิวทาง ชนิดรอยต่อของถนน การระบายน้ำ การก่อสร้างทางและบำรุงรักษา
ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ กล้าแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.1.3 มีจรรยาบรรณทางวิชาการ มีวินัย และมีจรรยาบรรณวิชาชีพครูตามข้อบังคับของครุสภา
 1.2.1 กำหนดกติกาของการเข้าชั้นเรียน ซึ่งมีคะแนนเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย โดยแบ่งการสอนเป็นภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ
1.2.2 ด้านเจตคติมีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักศาสนาพุทธ ความรับผิดชอบและจรรยาบรรณวิชาชีพครู   
   1.3.1 ให้คะแนนการเข้าเรียน และส่งรายงานที่ได้รับมอบหมายถูกต้องและตรงเวลา
    1.3.2 สังเกตการทำงานในกลุ่ม  การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
   1.3.3 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ
   1.3.4 ด้านเจตคติของผู้เรียน สังเกตุจากพฤติกรรมขณะเรียนและผลจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านพฤติกรรมเชิงบวกของผู้เรียน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในศาสตร์พื้นฐานเพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านการวิเคราะห์และคำนวณออกแบบงานทาง
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจทฤษฎีในงานวิศวกรรมการทาง
2.1.3 สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ปัญหาได้
2.1.4 สามารถใช้ความรู้และทักษะที่ได้ศึกษาในการปฏิบัติงานจริงได้
2.2.1  ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎี  ยกตัวอย่างสถานการณ์จริงประกอบการอธิบาย  มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัด
2.2.2  การสอนบรรยาย การคำนวณที่เกี่ยวข้อง และการดูสื่อวิดิทัศน์ประกอบการสอน มอบหมายให้นักศึกษาทำการบ้าน
 
2.3.1  สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
2.3.2   ประเมินจากความถูกต้องของงานที่มอบหมาย            
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถวิเคราะห์และแก้ปัญหาโจทย์ที่กำหนดให้
3.1.3 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง  เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต  และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
3.2.1 ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด
3.2.2 ให้นักศึกษา ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม และให้คำแนะนำ
 ประเมินผลจากความถูกต้องของแบบฝึกหัด
 
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 อธิบายวิธีการเขียนและนำเสนอรายงาน
4.2.2 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
4.3.1 ประเมินผลจากรายงานผลการทดลอง  
4.3.2 สังเกตจากพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
5.1.2 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน
5.2.1  ยกตัวอย่างการนำเสนอที่มีรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.2  อธิบายวิธีการจัดทำและนำเสนอรายงาน
5.2.3 ประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปช่วยคำนวณวิเคราะห์ แก้ปัญหาโจทย์การออกแบบ
5.3.1  ประเมินจากรูปแบบการนำเสนอรายงานผลการทดลอง
5.3.2  ประเมินจากความถูกต้องของรายงาน
5.3.3 ความถูกต้องของคำตอบจากการวิเคราะห์ คำนวณ
6.1.1 สามารถทำงานเป็นทีม หรือกลุ่มทดลองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 สามารถปฏิบัติการทดลองได้อย่างถูกต้องตามมารฐานที่กำหนด
6.1.3 สามารถสรุปผลจากการปฏิบัติการทดลองได้
6.2.1 ให้มีการปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่ม 
6.2.2 ให้ฝึกความเป็นผู้นำและผู้ตาม ยอมรับการฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และการรวบรวมข้อมูลเพื่อทำรายงานผลการทดลอง
6.3.1 สังเกตจากการปฏิบัติงานขณะทำการทดลอง
6.3.2 สังเกตการร่วมกิจกรรมกลุ่มทดลอง
6.3.3 การปฏิบัติการทดลองได้อย่างปลอดภัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3 ด้านทักษะทางปัญญา 4 ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDCV027 วิศวกรรมการทาง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หมวด 4 2.2.1.2 2.2.1.3 2.2.1.5 สอบกลางภาค บทที่ 1-5 9 ร้อยละ 30
2 หมวด 4 2.2.1.2 2.2.1.3 2.2.1.5 สอบปลายภาค บทที่ 6-7 17 ร้อยละ 30
3 หมวด 4 2.2.1.4 2.2.1.6 ผลจากการปฏิบัติการทดลอง และการเขียนรายงานภาคปฏิบัติการ การทดลองตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 30
4 หมวด 4 2.2.1.1 ภาคเจตคติของผู้เรียน(จิตพิสัย) ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
-มาตรฐานการทดลองวัสดุการทาง
-วิศวกรรมการทาง
-สื่อวิดิทัศน์การก่อสร้างทาง
-การทดสอบแอสฟัลต์
-วัสดุในงานทาง
-การออกแบบทางด้านเรขาคณิต
สื่อวิดิทัศน์การก่อสร้างทาง (เผยแพร่ทางยูทูป)
มีการประเมินผลผู้สอนโดยผู้เรียนในรายวิชาหลังจากสอบปลายภาคเรียน
ประเมินผลออนไลน์ตามระบบการประเมินของทางมหาวิทยาลัย
เพิ่มสื่อการสอนวิดิทัศน์เพื่อให้ผู้เรียนเห็นจากการทำงานจริง
ตามระบบของมหาวิทยาลัยและหลักสูตรกำหนด
ทุกๆ 5 ปี หรือตามความเหมาะสมและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี