เครื่องต้นกำลังสำหรับระบบเกษตร

Power for Agricultural System

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเทอร์โมไดนามิกส์ของเครื่องยนต์ เชื้อแพลิงและการเผาไหม้ เครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน โรงจักรพลังงานน้ำ โรงจักรพลังงานไอน้ำ โรงจักรกังหันแก็สและวัฎจักรร่วม และพลังงานทดแทน
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้เหมาะสมกับสภาพและสถานการณ์ปัจจุบัน มีความสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและสังคมปัจจุบัน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเทอร์โมไดนามิกส์ของเครื่องยนต์ เชื้อแพลิงและการเผาไหม้ เครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน โรงจักรพลังงานน้ำ โรงจักรพลังงานไอน้ำ โรงจักรกังหันแก็สและวัฎจักรร่วม และพลังงานทดแทน
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ   -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณคี่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะและสามารถแก้ไขความขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิ์และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 4 สามารถประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม  5 มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ 
1 ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้ และ ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การทางานกลุ่มและการส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยฯ  2 ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ตลอดจนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม หากกระทาการโดยขาดจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา  2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง  3 ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย  4 การกระทาทุจริตในการสอบ
1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์กับงานที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญเชิงทฤษฎีในเนื้อหาของรายวิชา 3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง  4 สามารถวิเคราะห์ปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
5 สามารถใช้ความรู้และทักษะที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาในการแก้ไขปัญหาในงานจริงได้
1 บรรยายโดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างอิงในหนังสือ ใช้สื่อการสอนทางอิเล็ก  ทรอนิกส์ ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริง  2 มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน  2 ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญานที่ดี
2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3 สามารถคิด วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาเพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาทางด้านวิศวกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ  4  มีจินตนาการในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์  5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อหาความรู้เพิ่มเติมและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
1 กรณีศึกษาทางการประยุกต์สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล  2 ให้นักศึกษาค้นคว้า จัดทารายงานทางเอกสารและนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3 ให้นักศึกษาปฏิบัติจริง
1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน  2 ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย และการนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาาาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม
3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
4 สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประวิทธิภาพ
5 สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
1 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย  2 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออก โดยการถามคาถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน  และการนาเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า  3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของ  ผู้อื่นด้วยเหตุผล
1 ติดตามการทางานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็น  รายบุคคล  2 ประเมินจากการนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน  3 ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และการตอบคาถามระหว่างกิจกรรมการเรียน  การสอน
1 มีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ
2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหา
3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม
4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพ
1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน  E- Learning  2 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนาเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน  2 ประเมินจากเทคนิคการนาเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่  เหมาะสม  3 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจากัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การ  อภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนาเสนอหน้าชั้นเรียน
1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่่ม มีการแบ่งหน้าที่ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
จัดกิจกรรมให้ได้ลงมือปฏิบัติจริง ดังนี้
1 สาธิตการปฏิบัติงานโดยผู้เชียวชาญ
2 .ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ
1 สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานและการจดบันทึก
2 พิจารณาผลการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 31082203 เครื่องต้นกำลังสำหรับระบบเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 1.2,1.3,1.4, 1.5 การเข้าร่วมชั้นเรียนออนไลน์ และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 3.1 ถึง 5.5 ประเมินจากรายงานและการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นและการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน ประเมินจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) ข้อที่ 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 2.5, 3.2 ถึง 3.5 1 ทดสอบย่อยก่อนสอบกลางภาค 2 สอบกลางภาค 3 ทดสอบย่อยก่อนสอบปลายภาค 4 สอบปลายภาค 1 ทดสอบย่อยก่อนสอบกลางภาค (ประเมินในสัปดาห์ที่ 4) 2 สอบกลางภาค (ประเมินในสัปดาห์ที่ 9) 3 ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 (ประเมินในสัปดาห์ที่ 12) 4 สอบปลายภาค (ประเมินในสัปดาห์ที่ 18) 1. ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 (5 %) 2. สอบกลางภาค (30 %) 3. ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 (5 %) 4. สอบปลายภาค (30 %)
รณชาติ มั่นศิลป์ (2559) เอกสารประกอบการสอนวิชาเครื่องต้นกำลังสำหรับระบบเกษตร. มทร.ล้านนา
สื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ 
นัฐพร ไชยญาติ. (2560). การออกแบบระบบพลังงานทดแทน. พิมพ์ครั้งที่ 3. เชียงใหม่ : สำนักบริหารและพัฒนาวิชาการ (งานสำนักพิมพ์).
พานิช อินต๊ะ. (2558). เทคโนโลยีการวัดและควบคุมฝุ่นละอองลอยด้วยไฟฟ้าสถิต. เชียงใหม่. เจริญ ก็อปปี้ เซ็นเตอร์.มนตรี พิรุณเกษตร. (2554). การเผาไหม้. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท โอ.เอส. พริ้นติ้งเฮาส์ จำกัด.
ราชบัณฑิตยสถาน (2542). พจนาณุกรมศัพท์ยานยนต์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด อรุณการพิมพ์.
สมชาติ ฉันทศิริวรรณ. (2558). วิศวกรรมโรงไฟฟ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://somchart.me.engr.tu.ac.th/pplant.pdf. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน 2559.
สำเริง จักรใจ. (2547). การเผาไหม้. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Cengel, Y. A. and Boles, M. A. (2015). Thermodynamics: An engineering approach, Eighth Edition. Boston: McGraw-Hill.
Cummins, C. L. Jr. (1989). Internal Fire. SAE International Inc.
Glassman, I. and Yetter, R.A. (2008). Combustion, Fourth Edition. London: Elsevier.
Heywood, J.B. (1988). Internal Combustion Engine Fundamentals. New York: McGraw-Hill.
Moran, M. J. and Shapiro, H. N. (2000). Fundamentals of Engineering Thermodynamics, Fifth Edition. New York: Wiley.
Pulkrabek, W.W. (2004). Engineering Fundamentals of the Internal Combustion Engine. New Jersey: Prentice Hall.
White, F. M. (2011). Fluid mechanics, seventh edition. New York: McGraw-Hill.
Woodruff, E., Lammers, H.  and Lammers, T. (2017). Steam Plant Operation  10th Edition. New York, McGraw-Hill.
 
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2554. คู่มือการพัฒนาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน พลังงานลม
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2554. คู่มือการพัฒนาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน พลังงานแสงอาทิตย์
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2554. คู่มือการพัฒนาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน พลังงานชีวมวล.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2554. คู่มือการพัฒนาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน พลังงานขยะ
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2554. คู่มือการพัฒนาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน เอทานอล.
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. 2554. คู่มือการพัฒนาและการลงทุนผลิตพลังงานทดแทน ไบโอดีเซล.
นัฐพร ไชยญาติ. 2558. เอกสารประกอบการบรรยาย “ต้นแบบโรงไฟฟ้าระบบ Organic Rankine Cycle”.
นาวี  นันต๊ะภาพ  คณากร  ขุนอาจ  ธนากรณ์  ไตรรส  ณัฐพล  แอบคา   อัจฉรา ไชยยา และ รณชาติ  มั่นศิลป์ (2560) การพัฒนาเทคนิคการวัดระยะยกเข็มหัวฉีดและช่วงเริ่มต้นการฉีดเชื้อเพลิง การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 31  วันที่ 4-7 กรกฎาคม 2560 จังหวัดนครนายก
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2559. เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรม และเขตประกอบการอุตสาหกรรม. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอนพิเศษ 129ง, วันที่ 6 มิถุนายน 2559.
พฤหัส บุญมาตา นัฐพร ไชยญาติ และรณชาติ มั่นศิลป์ (2559) แผนยุทธศาสตร์การผลิตไฟฟ้าด้วยวัฏจักรแรงคินสารอินทรีย์จากพลังงานชีวมวลของจังหวัดแม่ฮ่องสอน การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12 วันที่ 8-10 มิถุนายน 2559 จังหวัดพิษณุโลก
 
พิสมัย เสถียรยานนท์. 2558. แผนพลังงานทดแทน (AEDP 2558-2579). กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน.
วิริยะ อนันต์ประดิษฐ์ นัฐพร ไชยญาติ อัครินทร์ อินทนิเวศน์ วรรษมล เลิศจตุรานนท์ และรณชาติ มั่นศิลป์ (2559) การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของการนำผักตบชวาเพื่อผลิตพลังงานทดแทน การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12 วันที่ 8-10 มิถุนายน 2559 จังหวัดพิษณุโลก
Faaij, A. (2006). Mitigation and Adaptation Strategies for Global Change, Modern Biomass Conversion Technologies, 11(2), pp 343–375.
Horie, K., Barón, M., Fox, R. B., He, J. and Hess, M., et al. (2004). Definitions of Terms Relating To Reactions of Polymers and to Functional Polymeric Materials. Pure Appl. Chem., 76(4), pp 889–906.
Kosaka, H., Aizawa, T. and Kamimoto, T. (2005). Two-Dimensional Imaging of Ignition and Soot Formation Processes in a Diesel Flame. International Journal of Engine Research, 6(1), pp 21-42.
Marcic, M. (2003). Measuring Method for Diesel Multihole Injection Nozzles. Sensors and Actuators A, 107, 152–158.
Marcic, M. (2006). Sensor for Injection Rate Measurements. Sensors, 6, 1367-1382.
Munsin, R., Laoonual, Y.,  Bavornsethanan, S. and Jugjai, S. (2010). An Experimental Study on Aldehyde Emissions of a Hydrous Ethanol Fuelled Small SI Engine Generator Set. The First TSME International Conference on Mechanical Engineering, October 20-22, 2010, Ubonratchathani, Thailand.
Munsin, R., Laoonual, Y., Jugjai, S.,  Matsuki, M. and Kosaka, H. (2011). Investigation of Effects of Ignition Improver on Ignition Delay Time of Ethanol Combustion with Rapid Compression-Expansion Machine. The Second TSME International Conference on Mechanical Engineering, October 19-21, 2011, Krabi, Thailand.        
Munsin, R., Laoonual, Y., Jugjai, S.,  Matsuki, M. and Kosaka, H. (2012). The Visualization of Flame Temperature History from Combustion of Dedicated Hydrous Ethanol under CI Engine Condition. International Conference of Automotive Technology of Young Engineers (ICATYE), Tokyo, Japan, March 8, 2012. 
Munsin, R., Laoonual, Y., Jugjai, S., Matsuki, M. and Kosaka, H. (2012). Investigation of Effects of Ignition Improver on Ignition Delay Time of Ethanol Combustion with Rapid Compression and Expansion Machine. SAE World Congress, Detroit, Michican, Apr 24-26, 2012.
Munsin, R., Chung Lim Shing, B., Phunpheeranurak, K., Phongphankasem, T., Laoonual,Y. , Jugjai, S. and Chanchaona, S. (2013). Design of Constant Volume Combustion Chamber (CVCC) with Pre-Combustion Technique for Simulation of CI Engine Conditions. The 4th TSME International Conference on Mechanical Engineering, Chonburi, Oct 16-18, 2013.    
Munsin, R., Laoonual, Y., Jugjai, S. and Imai, Y. (2013). An Experimental Study on Performance and Emissions of a Small SI Engine Generator Set Fuelled by Hydrous Ethanol with High Water Contents up to 40%. Fuel, 106, pp 586-592.
Munsin, R., Laoonual, Y., Jugjai, S., Matsuki, M. and Kosaka, H. (2015). Effect of Diethyl Ether and Glycerol Ethoxylate on Injection and Combustion Characteristics as Ignition Improvers for Hydrous Ethanol under CI engine Condition. Energy Conversion and Management, 98, pp 282–289.
Munsin, R., Nuntapap, N., Banboo, N., Wangkitphaiboo, S. and Chaiyat. N. (2017). Effects of Water Injection on Performance of 5-Stroke Gasoline Engine. The 9th International Conference on Sciences, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB 2017), June 26-28, 2017, Kunming University of Sciences and Technology, China.
Munsin, R., Pinazzi, P., Foucher, F., Truedsson, I. and Rousselle, C.M. (2017). Effect of Fuel Injection Ratio on Partially Premixed Combustion of Ethanol Blends, The 8th TSME International Conference on Mechanical Engineering (TSME-ICOME), 12-15 December, Bangkok, Thailand.
NETL National Energy Technology Laboratory. 2006. Clean coal technology: Coal utilization by-products. Washington, DC: Department of Energy Office of Fossil Energy; Topical report no. 24.
Nuntapap, N., Saikhao, J., Kareo, T., Banboo, N., Wangkitphaiboo, S., Munsin, R. and Chaiyat, N. (2017). The Effects of Exhaust Gas Temperature on 5-Stroke Engine Performance. The 9th International Conference on Sciences, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB 2017), June 26-28, 2017, Kunming University of Sciences and Technology, China.
O’Connor, D. (2011). Biomass Power Technology Options. Presentation of Electrical Power Research Institute (EPRI) to the U.S Department of Energy: Biomass 2011, USA.
Sanli, H. and Canakci, M. 2008. Effects of different alcohol and catalyst usage on biodiesel production from different vegetable oils. Energy and Fuels, 22(4), pp. 2713–2719.
Suarez, F. Childress, A. E. and Tyler, S. (2010).  W.Temperature evolution of an experimental salt-gradient solar pond. Journal of Water and Climate Change, Vol 1(4), pp.246-250.
The U.S. Environmental Protection Agency. (2016). Nonroad Spark-Ignition Engines 19 Kilowatts and Below: Exhaust Emission Standards. [ออนไลน์]. https://www.epa.gov/emission-standards-reference-guide/epa-emission-standards-nonroad-engines-and-vehicles.
The U.S. Environmental Protection Agency. (2016). Nonroad Compression-Ignition Engines: Exhaust Emission Standards. [ออนไลน์]. https://www.epa.gov/emission-standards-reference-guide/epa-emission-standards-nonroad-engines-and-vehicles.
Tong, W., (2010). Fundamentals of wind energy. WIT Transactions on State of the Art in Science and Engineering, Vol 44, pp. 3-48.
Tree, D.R. and Svensson, K.I. (2007). Soot Processes in Compression Ignition Engines. Progress in Energy and Combustion Science, 33, pp 272–309.Wang, V., Jadav, A., Munsin, R., Laoonual, Y. (2014) Investigation of Pre-Injection Flow Characteristics in Constant Volume Combustion Chamber (CVCC) using Computational Fluid Dynamics (CFD), The 5th TSME International Conference on Mechanical Engineering (TSME-ICOME), 17-19 December, Chiangmai, Thailand.
 
Williams, R., Parker, N., Yang, C., Ogden, J. and Jenkins, B. 2007. H2 Production Via Biomass Gasification: Advanced Energy Pathways (AEP) Project. Task 4. 1 Technology Assessments of Vehicle Fuels and Technologies, Public Interest Energy Research (PIER) Program, California Energy Commission. Prepared by UC Davis, Institute of Transportation Studies (ITS-Davis) One Shields Ave, Davis, Calif, USA.
Woehrle,W. J. (1995). A History of the Passenger Car Tire: Part I, Automotive Engineering, 103(9), pp 71-75.
Zhen, X., Wang, Y., Xu, S., Zhu, Y., Tao, C., Xu, T., Son, M. (2012).The Engine Knock Analysis – An Overview. Applied Energy, 92, pp. 628–636.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ ดังนี้  - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้  - ผลการเรียนของนักศึกษา  - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้  - การสัมมนาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น