วิศวกรรมการแสงสว่าง

Illumination Engineering

1.1 เข้าใจธรรมชาติของแสง และการมองเห็น
1.2 เข้าใจหลักการทำงานของหลอดไฟฟ้าและดวงโคม
1.3 เข้าใจวิธีการออกแบบแสงสว่างภายในอาคาร
1.4 เข้าใจวิธีการออกแบบแสงสว่างภายนอกอาคาร
1.5 เข้าใจแนวทางการประหยัดพลังงานด้านวิศวกรรมการส่องสว่าง
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป  รวมทั้งแนวคิดในการออกแบบแสงสว่าง ที่มีการพัฒนาปรับปรุงให้ทันสมัยต่อเทคโนโลยีในระบบต่างๆ
ศึกษาเกี่ยวกับแสงสว่าง ตาและการมองเห็น สีและการจำแนกสี แหล่งกำเนิดแสง ดวงโคม  แสงสว่างภายในอาคารและสภาวะแวดล้อมต่างๆ ของแสงสว่าง เทคนิคการออกแบบแสงสว่างภายในและภายนอกอาคาร โดยใช้แนวทางการประหยัดพลังงาน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 กำหนดเรื่องการแต่งกาย  การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม การจัดการห้องเรียน 
1.2.3 ตรวจสอบการเข้าห้องเรียน การส่งงาน 
1.3.1 สังเกตุจากการแต่งกาย  การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม การจัดการห้องเรียน   1.3.3 ตรวจสอบการเข้าห้องเรียน การส่งงาน
 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
การสอนบรรยายแบบมีส่วนร่วม   การนำเสนอของนักศึกษา  การทำโจทย์ในสถานะการจริง  โดยเน้นการมีส่วนร่วมกับการตอบคำถาม
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1.3.3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
1.3.3.2      มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
       ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  และการบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน (Work-Integrated Learning)  มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของสถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาของแต่ละสาขาวิชาชีพเพื่อเป็นตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้องและเน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
        เน้นหลักการคิดอย่างเป็นระบบ โดยนักศึกษามีส่วนร่วม
ทดสอบ การออกแแบบ
สังเกตุจากการทำงาน
ไม่เน้น
----
-----
ไม่เเน้น
-----
-----
ไม่เน้น
-----
-----
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3 ด้านทักษะทางปัญญา 4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDEE121 วิศวกรรมการแสงสว่าง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 1-2 บทีที่ 1-3 บทที่ 3 บทที่ 4-5 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 (หลอดไฟฟ้า) สอบกลางภาค (บทที่ 3 วิธีจุดต่อจุด) ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 (วิธีลูเมน) สอบปลายภาค 5 8 11 16 10 % 11 % 12 % 27 %
2 บทที่ 2 บทที่ 3 วิเคราะห์กรณีศึกษา การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 20 %
3 ทุกบท การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย การเสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10 %
1 เทคนิคการออกแบบระบบแสงสว่าง ชาญศักดิ์  อภัยนิพัฒน์


2 เทคนิคการส่องสว่าง      ศุลี        บรรจงศรี


3 การออกแบบระบบแสงสว่าง ธนุบูรณ์   ศศิภานุเดช


4 พื้นฐานวิศวกรรมส่องสว่าง ไชยะ      แช่มช้อย


5 คู่มือวิศวกรรมไฟฟ้า บ.เอ็มแอนด์อี


6 เอกสารแสงสว่างและการอนุรักษ์พลังงาน กรมส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน


7 Lighting Manual 3th Phillips


8 Illumination Engineering From Edison’s Lamp to Laser Joseph B. Murdoch

 
 
 
 
แค็ตล็อกหลอดไฟ และโคมไฟ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ