ปรัชญาและหลักการอาชีวศึกษา

Philosophy and Principles of Vocational Education

1.1 เข้าใจความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาชีวะและเทคนิคศึกษา
1.2 เข้าใจแนวคิดทางปรัชญาที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา
1.3 เข้าใจวิวัฒนาการของการอาชีวะและเทคนิคศึกษาในประเทศไทยและหลักการจัดการศึกษาของต่างประเทศ
1.4 เข้าใจนโยบายการศึกษาและการจัดการอาชีวศึกษา
1.5 เข้าใจการพัฒนากำลังคนด้านอาชีวะและเทคนิคศึกษา
1.6 เข้าใจการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
1.7 เข้าใจการประยุกต์ใช้แนวคิดเพื่อพัฒนาสถานศึกษา
1.8 ตระหนักและเห็นความสำคัญรายวิชาปรัชญาและหลักการอาชีวศึกษา
      เพื่อให้นักศึกษานำความรู้เกี่ยวกับอาชีวะและเทคนิคศึกษา แนวคิดทางปรัชญาที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาวิวัฒนาการของการอาชีวะและเทคนิคศึกษาในประเทศไทยจัดการศึกษาของต่างประเทศนโยบายการศึกษาและการจัดการอาชีวศึกษาการพัฒนากำลังคนด้านอาชีวะและเทคนิคศึกษา การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนการประยุกต์ใช้แนวคิดเพื่อพัฒนาสถานศึกษา ไปใช้ประกอบอาชีพในสถานประกอบการที่เกี่ยวข้องต่อไป
ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ขอบข่าย และความสาคัญของอาชีวะและเทคนิคศึกษา ปรัชญา แนวคิด และทฤษฎีทางการศึกษา ศาสนา เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา วิวัฒนาการและแนวโน้มของการอาชีวะและเทคนิคศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ นโยบายการจัดการศึกษา แนวคิด และกลวิธีการจัดการศึกษา เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของชาติและของอาชีวะและเทคนิคศึกษา ประยุกต์ใช้แนวคิดเพื่อพัฒนาสถานศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และการจัดการเรียนการสอนในอาชีวศึกษา
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
   1.1.1 ไม่เน้น
   1.1.2 ไม่เน้น
   1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
   1.1.4  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
   ตั้งหัวข้อเป็นกรณีศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม ให้นักศึกษาทำงานกลุ่ม  ให้อภิปราย 
ตรวจสอบการเข้าเรียน  การแต่งกาย  การทำรายงาน
   สังเกตุจากการอภิปราย  การตอบคำถาม
   จากการเข้าเรียน  การแต่งกาย
    2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
    2.1.3  ไม่เน้น
     2.2.1  นักศึกษาอภิปราย ในหัวข้อที่กำหนด
     2.2.2 นักศึกษาต้องมีส่วนร่วมในการเรียนในแต่ละหัวข้อ
     2.2.3 นักศึกษาประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาในแต่ละหัวข้อ
     2.3.1  จากการอภิปราย
     2.3.2  การตอบคำถาม  การแสดงความคิดเห็น
     2.3.3  แนวคิดในการแก้ปัญหา
      3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
      3.3.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
                   
     3.2.2  กำหนดหัวข้อให้นักศึกษาได้ สังเคราะห์  วิเคราะห์  การแก้ปัญหา
     3.2.3  นักศึกษาต้องสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่่อแก้ปัญหา
      3.3.1  จากการสอบ
      3.3.2  จากการนำเสนอ
        4.1.1  ไม่เน้น
      4.1.2  ไม่เน้น
      4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
      4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะส
         4.2.1  นักศึกษาต้องทำงานกลุ่มในหัวข้อที่กำหนด
         4.2.2  นักศึกษานำเสนองานเป็นรายบุคคล
          4.3.1  จากกการนำเสนอ
          4.3.2  จากเอกสารรายงาน
      2.5.1.1  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
       2.5.1.2  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 
        2.5.1.3  ไม่เน้น
       5.2.1  ให้นักศึกษา วิเคราะห์การใช้สื่อที่เหมาะสม
       5.2.2  นักศึกษาต้องสามารถสืบค้นการทำรายงานในสื่อที่หลากหลาย
       5.3.1  จากการนำเสนอโดยสื่อ
       5.3.2  จากเอกสาร  การนำเสนอ
      6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
        6.1.2 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนใด้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม
     กำหนดให้นักศึกษาประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อแก้ปัญหา  เพื่อสร้างสื่อการสอน  สร้างเอกสารประการเรียน
     ประเมินจากสร้างสื่อ  การนำเสนอ  การสร้างเอกสาร 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 TEDCC802 ปรัชญาและหลักการอาชีวศึกษา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-3.2 1.1-4.3 5.1-6.2 5.1-8.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 17 10% 25% 10% 25%
2 1.1-8.2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1-8.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. ชนะกสิภาร์. “หลักสูตรกับครูอาชีวะและเทคนิคศึกษาในอนาคต.” ในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
      เพื่อวิเคราะห์และปรับปรุงหลักสูตรสาขาวิชาช่างกลเกษตรวิทยาลัยเทคโนโลยีและ
      อาชีวศึกษา, 2530. (เอกสารอัดสำเนา)
2.ธีรวุฒิ  บุณยโสภณ. การบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษาเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ :
      สำนักพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2536.
3.บรรเลงศรนิลและคณะ. รายงานการวิจัยเส้นทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและเทคโนโลยี.
     กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์, 2548.
          4.นโยบายยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สองด้านการพัฒนาอาชีวศึกษา หน้า2
          5.วิจิตร ศรีสอ้าน. (2516, ตุลาคม-พฤศจิกายน). ปรัชญาการศึกษากับการพัฒนาหลักสูตร.         วารสารวิทยุศึกษา, 20, 11-27.
       เอกสารประกอบการเรียน
       
     สภาการศึกษาแห่งชาติ
     สำนักงานการอาชีวศึกษา 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้

การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน ผลการเรียนของนักศึกษา การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้

สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้

ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ