ยาและการใช้ยาสัตว์

Animal Drugs and Usage

1.1. รู้เกี่ยวกับรูปแบบของยา การออกฤทธิ์ของยาในวงการปศุสัตว์
1.2. รู้ยาที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ยาที่มีผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติ สารเร่งการเจริญเติบโต ฮอร์โมน วัคซีน ยาฆ่าเชื้อและยาล้างเชื้อ ยาต้านแบคทีเรีย ยากำจัดพยาธิภายนอกและภายในสมุนไพรที่เป็นยาสัตว์
1.3. เข้าใจหลักการใช้ยาสัตว์ต่างๆและการใช้ในสัตว์เลี้ยงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
1.4.รู้จักการประยุกต์หลักใช้ยาสัตว์ต่างๆและการใช้ในสัตว์เลี้ยงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
1.5. ให้มีเจตคติที่ดีต่อยาสัตว์ต่างๆและการใช้ในสัตว์เลี้ยงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานที่มีอยู่ให้มีความสอดคล้องกับความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ตลอดจนความก้าวหน้าต่างๆ ในวงการปศุสัตว์ที่เกี่ยวกับยาสัตว์ต่างๆและการใช้ในสัตว์เลี้ยงที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบของยา การออกฤทธิ์ของยา ยาที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ยาที่มีผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติ สารเร่งการเจริญเติบโต ฮอร์โมน วัคซีน ยาฆ่าเชื้อและยาล้างเชื้อ ยาต้านแบคทีเรีย ยากำจัดพยาธิภายนอกและภายใน สมุนไพรที่เป็นยาสัตว์
3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
ให้นักศึกษาตระหนัก และมีความรับผิดชอบต่องานที่ได้มอบหมายทั้งของตนเอง และผลงานของกลุ่มที่ได้รับมอบหมายมีวินัยต่อการเรียน   ส่งมอบงานที่มอบหมายตามเวลาที่กำหนด    เคารพในการแสดงออกทางความคิดของผู้ร่วมงาน และการรับฟังการแสดงความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน ทั้งในกลุ่ม และนอกกลุ่ม
-ใช้การสอนแบบ Active Learning เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถาม หรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มมีกิจกรรม นักศึกษาค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
         - ยกตัวอย่างกรณีศึกษา  ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ 
          - เพิ่มการสอนนอกชั้นเรียนโดยให้ศึกษาจากประสบการณ์จริง ในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ และหาข้อมูลเชิงประจักษ์ของยาสัตว์และการใช้ยาสัตว์ที่ได้พบ รวมทั้งการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการของยาสัตว์และการใช้ยาสัตว์อย่างมีจรรยาบรรณ และถูกต้องตามความเหมาะสมบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และในสถานการณ์ที่สาขาวิชาฯ และคณะ   จัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม  การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน  การตรงต่อเวลา และการเคารพการแสดงความคิดเห็นของผู้อื่น  การเคารพผู้อาวุโส และอาจารย์  โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคล และรายกลุ่ม
รู้ และเข้าใจความหมายเพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบของยา การออกฤทธิ์ของยา ยาที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ยาที่มีผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติ สารเร่งการเจริญเติบโต ฮอร์โมน วัคซีน ยาฆ่าเชื้อและยาล้างเชื้อ ยาต้านแบคทีเรีย ยากำจัดพยาธิภายนอกและภายใน สมุนไพรที่เป็นยาสัตว์
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) การสอนแบบคิดวิเคราะห์ (Critical thinking) การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนบรรยายแบบ  Active Learning เน้นให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม และหาแนวทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง หรือกลุ่ม โดยมีอาจารย์เป็นที่ปรึกษาเบื้องต้น รวมทั้ง การสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่องเกี่ยวกับรูปแบบของยา การออกฤทธิ์ของยา ยาที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ยาที่มีผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติ สารเร่งการเจริญเติบโต ฮอร์โมน วัคซีน ยาฆ่าเชื้อและยาล้างเชื้อ ยาต้านแบคทีเรีย ยากำจัดพยาธิภายนอกและภายใน สมุนไพรที่เป็นยาสัตว์ เป็นต้น ทั้งนี้กลยุทธ์ที่จะเลือกใช้ดังกล่าวขึ้นอยู่ด้วยความเหมาะสมกับสถานการณ์ และความจำเป็นที่สอดคล้องกันกับองค์ความรู้ในแต่ละหัวข้อ หรือบทเรียน
     ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียน และการสอบวัดความรู้ โดยมีการสอบย่อย (Quiz) และสอบเป็นทางการ 2   ครั้ง (สอบกลางภาค และสอบปลายภาค)
      ทำรายงานรายบุคคล และหรือรายงานกลุ่ม เพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน     
      การทำรายงานกรณีศึกษาเกี่ยวกับยาสัตว์และการใช้ยาสัตว์และนำเสนอหน้าชั้นเรียนเป็นกลุ่ม
     ประเมินพฤติกรรมในชั้นเรียน และการสอบวัดความรู้ โดยมีการสอบย่อย (Quiz) และสอบเป็นทางการ 2   ครั้ง (สอบกลางภาค และสอบปลายภาค)
      ทำรายงานรายบุคคล และหรือรายงานกลุ่ม เพื่อประเมินความสนใจการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน     
      การทำรายงานกรณีศึกษาเกี่ยวกับยาสัตว์และการใช้ยาสัตว์และนำเสนอหน้าชั้นเรียนเป็นกลุ่ม
ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหา หรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือ และความเป็นไปได้
ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากกรณีศึกษาตามประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหา หรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือ และความเป็นไปได้
เน้นการทำงานเป็นทีม โดยมีการทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งจะต้องช่วยเหลือแบ่งงานย่อยโดยมอบหมายให้ช่วยกันค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อใช้เขียนรายงาน และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา กรณีศึกษาในชั้นเรียน
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียนโดยมีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
การประเมินจากการแสดงออกอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และประเมินผลงานจากรายงานของนักศึกษาทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
-  การค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์  เช่น แผ่น CD ที่บรรจุหน่วยเรียน
 -  การนำเสนอข้อมูลของงานที่มอบหมายให้เข้าใจง่าย ในรูปแบบที่เหมาะสม โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการทำงาน
- การใช้ Power point ในการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายทั้งแบบรายบุคคล และรายกลุ่มรวมทั้งการนำเสนอโครงการที่เสร็จสิ้น
- การคำนวณในหน่วยเรียน
การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลรวมทั้งการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต การนำเสนอโดยใช้แผ่นใส เอกสารประกอบการสอน ตำรา PowerPoint ประกอบการสอนในชั้นเรียน  การเลือกวิธีการนำเสนอที่เข้าใจง่าย อย่างเป็นระบบ หลักการคำนวณในหน่วยเรียน
ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน และเอกสารรายงานของนักศึกษา การสอบย่อย (Quiz) ในชั้นเรียน
ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และในสถานการณ์ที่สาขาวิชาฯ และคณะ   จัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม  การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน  การตรงต่อเวลา และการเคารพการแสดงความคิดเห็นของผู้อื่น  การเคารพผู้อาวุโส และอาจารย์  โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคล และรายกลุ่ม
-ใช้การสอนแบบ Active Learning เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถาม หรือตอบคำถาม หรือแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ ให้สมาชิกในแต่ละกลุ่มมีกิจกรรม นักศึกษาค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง
         - ยกตัวอย่างกรณีศึกษา  ตัวอย่างที่ขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และการประพฤติที่ผิดจรรยาบรรณในวิชาชีพ 
          - เพิ่มการสอนนอกชั้นเรียนโดยให้ศึกษาจากประสบการณ์จริง ในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ และหาข้อมูลเชิงประจักษ์ของยาสัตว์และการใช้ยาสัตว์ที่ได้พบ รวมทั้งการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการของยาสัตว์และการใช้ยาสัตว์อย่างมีจรรยาบรรณ และถูกต้องตามความเหมาะสมบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรมที่เกี่ยวข้อง
ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน และในสถานการณ์ที่สาขาวิชาฯ และคณะ   จัดกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม  การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน  การตรงต่อเวลา และการเคารพการแสดงความคิดเห็นของผู้อื่น  การเคารพผู้อาวุโส และอาจารย์  โดยประเมินทั้งแบบรายบุคคล และรายกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ทักษะพิสัย ทางปัญญา คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา การบรรยาย การบรรยาย การมอบหมายงาน การมอบหมายงาน
1 BSCAG247 ยาและการใช้ยาสัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การสอบกลางภาค การสอบกลางภาค 9 35%
2 การสอบปลายภาค การสอบปลายภาค 17 35%
3 การเขียนรายงานกรณีศึกษาดูงานนอกสถานที่ นำเสนอผลงาน ทบทวน การเขียนรายงานกรณีศึกษาดูงานนอกสถานที่ นำเสนอผลงาน ทบทวน 2-17 20%
4 เจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ ในรายวิชา เจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ ในรายวิชา 1-17 10%
1.กิจจา อุไรรงค์, ปรียพันธ์ อุดมประเสริฐและวรวิทย์ วัชชวัลดุ. 2536 . การจัดการสุขภาพและผลผลิตในฟาร์มสุกร. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสนนครปฐม 223 หน้า
2. กิจจา อุไรรงค์ และคณะ. 2537. การควบคุมป้องกันโรคสุกรที่สำคัญในประเทศไทย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน,นครปฐม 373 หน้า
3. จันทนา กุญชร ณ อยุธยา. 2529. โรคและการรักษาสัตว์ปีก. อนงค์การพิมพ์. กรุงเทพฯ. 190 หน้า.
4. เชื้อ ว่องส่งสาร. 2518. โรคระบาดและโรคติดเชื้อของสัตว์. โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรมพระนคร.
5. เชื้อ ว่องส่งสาร, สมบูรณ์ สุธีรัตน์. 2526. ประมวลวิชาการสัตวแพทย์. โรงพิมพ์บัณฑิตการพิมพ์, กรุงเทพฯ.451 หน้า.
6. ดำรง ปัญญาประทีป. 2528. การสุขาภิบาลและการควบคุมโรคสัตว์. คณะวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาเขตเกษตรพระนครศรีอยุธยา วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา. 263 หน้า.
7. ถวัลย์ วรรณกุล, อัมพัน ยงพิศาลภพ. 2529. มาตรการควบคุมและป้องกันโรคสุกร. โรงพิมพ์มิตรสยาม, กรุงเทพฯ. 291 หน้า.
8. ประสบ บูรณมานัส. 2528. เภสัชวิทยาทางสัตวแพทย์. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 438 หน้า.
9. ประสบ บูรณมานัส. ม.ป.ป. สิ่งที่เป็นพิษแก่สัตว์. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 98 หน้า.
10. ปรารถนา พฤกษะศรี และคณะ. 2530. กฏหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 177 หน้า.
11. มาลินี ลิ้มโภคา. 2525. การใช้ยาต้านจุลชีพในสัตว์. ภาคเภสัชวิทยา คณะสัตวแพทย์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 442 หน้า.
12. วีรพล จันทร์สวรรค์. 2526. พยาธิใบไม้และตัวตืดของสัตว์เลี้ยง. หมวดวิชาปาราสิตวิทยา ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 272 หน้า.
13. สุพล เลื่องยศลือชากุล. และคณะ.  โรคและการป้องกันโรคสุกร คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 145 หน้า.
14. สุรพล พหลภาคย์.2540. คู่มือการตรวจรักษาและป้องกันโรคสุกร. โอเดียนสโตร์, 169 หน้า.
15. สุวิทย์ เทียรทอง. 2527. หลักการเลี้ยงสุกร. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 151 หน้า.
16. สุวิทย์ เทียรทอง. 2530. หลักการเลี้ยงสัตว์ . โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 172 หน้า.
17. อุทิศ มุสิโก. 2528. คู่มือสัตวแพทย์ เล่ม 1. กองควบคุมโรคระบาด กรมปศุสัตว์. 418 หน้า.
18.กำพล ศรีวัฒนกุล 2538 คู่มือการใช้ยาฉบับสมบูรณ์ สกายบุกส์จำกัด 666 หน้า
หนังสือ ตามข้อ 6.1 ตำราที่กำหนด
เวปไซด์กรมปศุสัตว์  E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ให้นักศึกษาทุกคนทำการประเมินการสอนของอาจารย์ผ่านระบบออนไลน์ของมหาวิทยาลัย และเสนอแนะเพื่อ  การปรับปรุงรายวิชา
จากการเปรียบเทียบผลการทดสอบตามบทเรียน  ก่อนและหลังจากอ่านบทเรียนครบทุกส่วนแล้ว
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนกลยุทธ์การสอนทุกภาคการศึกษา  มีการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนใหม่ๆ ทุกปี  อาจารย์ประชุมปรึกษาปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษา และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา รวมทั้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอนภาคทฤษฎี  เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอน และกลยุทธ์การสอนที่ใช้ นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการในรายละเอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป