โรงต้นกำลังไฟฟ้าและสถานีไฟฟ้าย่อย

Power Plant and Substation

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรงไฟฟ้า แหล่งพลังงานหมุนเวียน สถานีไฟฟ้าย่อย การป้องกันฟ้าผ่าสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย ระบบการต่อลงดิน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ แหล่งพลังงาน โรงไฟฟ้า สถานีไฟฟ้าย่อย การควบคุมสถานีไฟฟ้าย่อย การป้องกันฟ้าผ่าสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย ระบบการต่อลงดิน
      ศึกษาเกี่ยวกับเส้นโค้งโหลด โรงไฟฟ้าดีเซล โรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ โรงไฟฟ้ากังหันแก๊ส โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนร่วม โรงไฟฟ้าพลังน้ำ โรงไฟฟ้านิวเคลียร์  แหล่งพลังงานหมุนเวียน ชนิดของสถานีไฟฟ้าย่อย การจัดวางอุปกรณ์สถานีไฟฟ้าย่อย การควบคุมสถานีไฟฟ้าย่อยแบบอัตโนมัติ การป้องกันฟ้าผ่าสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย ระบบการต่อลงดิน
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
2. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
3. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
4. ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
2. ประเมินผลจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
3. การขานชื่อ   การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
4. พิจารณาปริมาณการทุจริตในการสอบ
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
3. สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2. ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
3. จัดกิจกรรมทางวิชาการและเทคโนโลยีในรู้แบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
4. ทดสอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง
1. ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานหรือแบบฝึกหัดและ/หรือการบ้าน
2. พิจารณาจากกิจกรรมด้านวิชาการของผู้เรียน
3. การทดสอบย่อย + การประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎีแบบฝึกหัดและ/หรือการบ้าน
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)
2. มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
1. พิจารณาจากการรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา
2. ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย/การทดสอบย่อย
1. มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
2. ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
3.กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
4. ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
5. ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่มและสังคม
1. ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและแบบฝึกหัดและ/หรือการบ้าน
2. ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะพร้อมบันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
3. พิจารณาจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
4. พิจารณาจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
5. สังเกตพฤติกรรมการระพิจารณาจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
6. ระดมสมอง
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
2. สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข
2. ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
3. มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
1. ประเมินจากผลงานหรือแบบฝึกหัดและ/หรือการบ้าน
2. ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงานเป็นระยะ
3. สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึก
1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลาเครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
3. 
1. นำงานบริการวิชาการ และประสบการณ์ในงานอุตสาหกรรมมาถ่ายทอดในชั้นเรียน
2. จัดแบ่งกลุ่มในการทดลอง เครื่องมือและชุดปฏิบัติ ออกเป็นกลุ่ม
3. ระดมสมอง
4. ความเป็นผู้นำ
1. ทดสอบภาคทฤษฎี
2. ทดสอบภาคทฤษฎี
3. การนำเสนองานกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้่ทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 3 4 5 1 2 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGEE117 โรงต้นกำลังไฟฟ้าและสถานีไฟฟ้าย่อย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 4.1.3, 4.1.4, 4.2.1, 4.2.3, 4.3.2 -ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 -สอบกลางภาค -ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 -สอบปลายภาค 5 8 11 16 10% 30% 10% 30%
2 4.2.1, 4.2.3, 4.5.3 รายงานและ/หรือแบบฝึกหัด ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 4.1.1, 4.1.2, 4.2.2, 4.3.1, 4.3.2, 4.4.2, 4.4.3, 4.5.3 -การเข้าชั้นเรียน -การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
   1. สมชาติ ฉันทศิริวรรณ, วิศวกรรมโรงไฟฟ้า, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
      2558.
   2. อนิรุตต์ มัทธุจักร์, วิศวกรรมโรงจักรต้นกำลัง, ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2559.
      2543. (ISBN 9786160825011)        
   3. Alexandra von Meier, Electric Power System, Johm Wiley & Son Inc, 1997. (ISBN 13: 978-0-
       471-17859-0)
-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ