การฝึกเบื้องต้นทางวิศวกรรม

Fundamental of Engineering Training

ฝึกปฏิบัติงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือวัดเครื่องมือกล พื้นฐาน การเชื่อมประสาน เครื่องมือทั่วไป และหลักการปฏิบัติงานพื้นฐานทางด้าน วิศวกรรมอย่างปลอดภัย
2.1 เพื่อผลิตนักศึกษาที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติงานเทคโนโลยีเครื่องกลประเภทต่างๆ ทั้งภาครัฐบาลและเอกชน
2.2 เพื่อผลิตนักศึกษาให้มีความรู้ความสามารถในการทำงาน โดยเน้นทักษะในการทำงานการให้ความรู้ประสบการณ์และการอบรมจริยธรรม คนงาน หรือช่างฝีมือตลอดจนการประสานงานการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน
2.3 เพื่อฝึกฝนให้นักศึกษามีความริเริ่มสร้างสรรค์ มีกิจนิสัยในการค้นคว้า วางแผนเตรียมการรวมทั้งปรับปรุงและพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าอยู่เสมอสามารถแก้ปัญหาด้วยหลักการและเหตุผลปฏิบัติงานด้วยหลักวิชาการที่มีการวางแผนและควบคุมอย่างรอบคอบ ซึ่งจะก่อให้ผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างประหยัด รวดเร็วและมีคุณภาพ
2.4 เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีคุณธรรม มีระเบียบวินัยตรงต่อเวลา ชื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร สำนึกในจรรยาวิชาชีพ รับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม
ฝึกปฏิบัติงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือวัดเครื่องมือกล พื้นฐาน การเชื่อมประสาน เครื่องมือทั่วไป และหลักการปฏิบัติงานพื้นฐานทางด้าน วิศวกรรมอย่างปลอดภัย
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม
3. มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อ ขัดแย้งตามลำดับความสาคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพใน คุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
4. สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม
5. มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบ วิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรม
 
 
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในรายวิชา 
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมาย ชิ้นงานในภาคปฏิบัติ 
2. ประเมินจากการสอบ
ความรู้ที่ได้รับของรายวิชาคือ มีความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการฝึกปฏิบัติงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือวัดเครื่องมือกล พื้นฐาน การเชื่อมประสาน เครื่องมือทั่วไป และหลักการปฏิบัติงานพื้นฐานทางด้าน วิศวกรรมอย่างปลอดภัย
ใช้การสอนโดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ - จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ - มอบหมายให้นักศึกษาทำตามใบงาน แก้ไข
ประเมินจากการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติการ
1 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูล ประกอบ การตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 สามารถสืบค้นข้อมูล และแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอด ชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
1 ให้นักศึกษาปฏิบัติการจากใบงาน
2 มอบหมายตามใบงาน โดยใช้หลักพื้นฐานทางวิศวกรรม
3 การศึกษา ค้นคว้า และรายงานหน้าชั้นเรียนแก้ไข  
ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงาน 
3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลาแก้ไข
1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2 มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการอ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
3 การนำเสนอรายงาน
 
1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2 รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3 รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ เช่น Web block การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2 นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1 การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2 การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลาเครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 ให้นักศึกษารับผิดชอบเมื่อใช้เครื่องจักรแต่ละเครื่องภายในโรงงาน
2 ให้นักศึกษารับผิดชอบแบ่งเป็นกลุ่มและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบตามกลุ่มที่ได้รับผิดชอบ
1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านการนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
2 ให้นักศึกษารับผิดชอบแบ่งเป็นกลุ่มและแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบตามกลุ่มที่ได้รับผิดชอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 5 1 2 3 4 5 2 3 1 3 4 1 3 4 1 2
1 ENGEE105 การฝึกเบื้องต้นทางวิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 เข้าเรียน 16 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 6 ชั่วโมง ของแต่ละบุคคล พิจารณาจากชิ้นงานของแต่ละบุคคล มีคะแนน 60 คะแนนหรือ 60 เปอร์เซ็นต์ ตลอดภาคการศึกษา 60%
2 เข้าเรียน 16 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 6 ชั่วโมง ของแต่ละบุคคล พิจารณาจากการตรวจลักษณะโดยรวมของชิ้นงานแต่ละบุคคล มีคะแนน 20 คะแนน หรือ 20 เปอร์เซ็นต์ ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 เข้าเรียน 16 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 6 ชั่วโมง ของแต่ละบุคคล พิจารณาจากงานมอบหมาย มีคะแนน 10 คะแนน หรือ 10 เปอร์เซ็นต์ ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 เข้าเรียน 16 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 6 ชั่วโมง ของแต่ละบุคคล พิจารณาจากจิตพิสัย ความสนใจ เวลาเรียน การแต่งกาย ความประพฤติ การเข้าร่วมกิจกรรม มีคะแนน 10 คะแนนหรือ 10 เปอร์เซ็นต์ ในการเข้าชั้นเรียนโดยนักศึกษาปฏิบัติตามกติกาและข้อปฏิบัติต่างๆ ที่นักศึกษาสมควรปฏิบัติตาม ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. จินดา พรหมเสนา. ระบบและความปลอดภัยในโรงงาน. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่บริษัทศรีสง่าวิชาการ (1995) จำกัด, 2531. 2. จำเนียร ศิลปะวานิช และเสน่ห์ กลิ่นบุนนาค. คู่มือฝึกฝีมือพื้นฐานเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่ เจริญรุ่งเรืองการพิมพ์, 2540. 3. ฉวีวรรณ รมยานนท์. ทฤษฎีงานช่างพื้นฐานงานฝึกฝีมือเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จัดพิมพ์โดยบริษัทโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิชจำกัด, 2539. 4. ชะลอ การทวี งานเครื่องมือกลเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เอมพันธ์ , 2546 5. ชาญชัย เดชะเสฏฐดี, นพพร ตรีเทวี และสมศักดิ์ ชำนาญท่องไพวัลห์. คู่มือช่างกลโรงงาน ภาคปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่ห้างหุ้นส่วนจำกัดสำนักพิมพ์ยูไนเต็ดบุ๊คส์, 2539.    6. ดอกธูป พุทธมงคล และคณะฯ. ทฤษฎีงานช่างพื้นฐานงานฝึกฝีมือเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่ โรงพิมพ์พิทักษ์อักษร, ม.ป.ป. 7. นริศ ศรีเมฆ เขียนแบบเทคนิค . กรุงเทพ ฯ : สำนักพิมพ์ เอมพันธ์ , 2545 8. ทศพล สังข์อยุทธ์ การวัดละเอียด. นนทบุรี : จตุพรดีไซด์, 25454. 9. ธวัชชัย อินทุใส และคณะฯ. ทฤษฎีช่างกลทั่วไป. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่บริษัทสยามสปอร์ตซินดิเคท จำกัด, 2542. 10. ธีรยุทธ สุวรรณประทีป. เครื่องมือวัดละเอียด. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่บริษัท เอช.เอ็น.กรู๊ปจำกัด, 2538. 11. บุญญศักดิ์ โจลงกิจ. คณิตศาสตร์ช่างเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าพระนครเหนือ, 2522. 12. ประเวช มณีกุต. เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จิรวัฒน์, ม.ป.ป. 13. ปริญญ์ บุญกนิษย์. การวัดละเอียด. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เอมพันธ์ , 2547. 14. ฝ่ายวิชาการบริษัทสกายบุ๊คส์. การวัดละเอียด. กรุงเทพฯ : บริษัทสกายบุ๊คส์ , 2534. 15. วิทยา ทองขาว. ทฤษฎีงานฝึกฝีมือ. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่บริษัท เอช.เอ็น.กรู๊ปจำกัด, 2539. 16. วินัย ตรีไพชยนต์ศักดิ์. แบบฝึกหัดงานฝึกฝีมือเบื้องต้น. กรุงเทพ ฯ :โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าพระนครเหนือ 17. วินัย ตรีไพชยนต์ศักดิ์. แบบฝึกหัดงานฝึกฝีมือเบื้องต้นงานตะไบปรับประกอบ. กรุงเทพ ฯ :โรง พิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ม.ป.ป. 18. วีระ รัตนไชย. ทฤษฎีงานฝึกฝีมือ 1-2. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่ห้างหุ้นส่วนจำกัดนำอักษรการพิมพ์, 2540. 19. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย–ญี่ปุ่น คณิตศาสตร์ช่างอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: บริษัท ส. เอเซียเพรส จำกัด, 2542. 20. สุธี รัตนเสถียร และอนันต์ชัย เที่ยงดาห์. ระบบและความปลอดภัยในโรงงาน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, 2535. 21. เอกสารประกอบการฝึกอบรม. งานฝึกฝีมือเบื้องต้น. ชลบุรี, 2545. 22. อรุณสก กลิ่นศรีสุข. แบบฝึกฝีมือ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สกายบุคส์ , 2538. 23. อนันต์ วงศ์กระจ่าง. ทฤษฏีงานฝึกฝีมือ. กรุงเทพฯ: พิมพ์ที่ หจก.โรงพิมพ์ศรีสยาม, 2530. 24. อำพล ซื่อตรง. งานฝึกฝีมือ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ, ม.ป.ป. 25. C. Thomas Olivo Fundamentals of Machine tool Technology and Manufacturing Process. America, 1990. 26. Steve F. Krar Technology of Machine Tools. New York : Glencoe Mc Graw–Hill, 1995. 27. Victor E. Repp , Willard J. Mc Carthy MetalWork Technology and Practive. America: Mc Graw – Hill, 1989. 28. William P. Spence Drafting Technogy and Practive. America: Mc Graw – Hill, 1991.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาเชิงวิชาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปีหรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ ให้นักศึกษาค้นคว้าทำรายงานเนื้อหาวิชาฝึกฝีมือเบื้องต้น เพื่อจะนำเอามาประยุกต์ใช้ให้ทันกับสมัยปัจจุบัน