สัมมนาพืชศาสตร์

Plant Science Seminar

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่างๆ ดังนี้
1.1 เพื่อให้นักศึกษารู้และเข้าใจเกี่ยวกับการสัมมนาและองค์ประกอบของการสัมมนา
1.2 เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสัมมนา การศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางวิชาการ การสังเคราะห์และเรียบเรียงข้อมูล การจัดทำรายงานสัมมนาฉบับสมบูรณ์ และการนำเสนอผลงานทางวิชาการ การจัดประชุมสัมมนาทางวิชาการ
เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานที่มีอยู่ให้มีความสอดคล้องกับความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ตลอดจนความก้าวหน้าต่างๆ ในวงการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสัมมนาและองค์ประกอบของการสัมมนา นำเสนองานอภิปรายปัญหาและให้ข้อเสนอแนะต่างๆ ในการสัมมนาหรือการประชุมวิชาการ
3.1 อาจารย์จัดทำแผนการเรียน-การสอน เพื่อให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการ แจ้งเป็นข้อตกลงในสัปดาห์แรกของการเรียนการสอน
3.2 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
3.3 วันพุธ เวลา 15.00 - 17.00 น. ณ ห้องสำนักงานสาขาพืชศาสตร์
3.4 e-mail : k_rujiphot@gmail.com ช่วงเวลา 20.00 –24.00 น. ทุกวัน
- มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
- มีจรรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
- การสังเกต
-. การตรงต่อเวลา
-. การส่งงานมอบหมาย (Power Point และเอกสารบทความทางวิชาการ)
-  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process
- การสังเกต
- งานมอบหมาย (Power Point และเอกสารบทความทางวิชาการ)
- มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
-  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
- การสังเกต
- งานมอบหมาย (Power Point และเอกสารบทความทางวิชาการ)
- การนำเสนอผลงาน
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
-  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
-การสังเกต
- งานมอบหมาย (Power Point และเอกสารบทความทางวิชาการ)
- การนำเสนอผลงาน
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
-  สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
- การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
- กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process
- การสังเกต
- งานมอบหมาย (Power Point และเอกสารบทความทางวิชาการ)
- การนำเสนอผลงาน โดยวิธีรายงาน/วาจา และประกอบสื่อ Power point
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1  ผู้เรียนมีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม  ผู้เรียนมีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  ผู้เรียนมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม  ผู้เรียนเคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ การเข้าชั้นเรียน การตรงเวลา บุคลิกภาพ มารยาท มนุษยสัมพันธ์ ความรับผิดชอบ ระเบียบวินัย ภาวะผู้นำ-ผู้ตาม 1-16 - จิตพิสัย 10% - การส่งงาน 20% - การจัดประชุมและนำเสนอผลงานทางวิชาการ 70%
2  ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา  ผู้เรียนสามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา  ผู้เรียนสามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 1. การสังเกต 2. งานมอบหมาย (Power Point และ เอกสารบทความทางวิชาการ) 1-16 - จิตพิสัย 10% - การส่งงาน 20% - การจัดประชุมและนำเสนอผลงานทางวิชาการ 70%
3 z ผู้เรียนมีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ  ผู้เรียนมีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 1. การสังเกต 2. งานมอบหมาย (Power Point และเอกสารบทความทางวิชาการ) 3. การนำเสนอผลงาน 1-16 - จิตพิสัย 10% - การส่งงาน 20% - การจัดประชุมและนำเสนอผลงานทางวิชาการ 70%
4  ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี  ผู้เรียนมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ผู้เรียนสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม  ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 1. การสังเกต 2. งานมอบหมาย (Power Point และ เอกสารบทความทางวิชาการ) 3. การนำเสนอผลงาน 1-16 - จิตพิสัย 10% - การส่งงาน 20% - การจัดประชุมและนำเสนอผลงานทางวิชาการ 70%
5  ผู้เรียนสามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม  ผู้เรียนสามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม  ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. การสังเกต 2. งานมอบหมาย (Power Point และเอกสารบทความทางวิชาการ) 3. การนำเสนอผลงาน โดยวิธีรายงาน/วาจา และ/หรือ Power point 1-16 - จิตพิสัย 10% - การส่งงาน 20% - การจัดประชุมและนำเสนอผลงานทางวิชาการ 70%
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร. มปป. คู่มือปัญหาพิเศษ. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้าน. 46 น.
วารสารภาษาไทย เช่น วารสารวิชาการเกษตร, แก่นเกษตร, วารสารทางการเกษตรและเทคโนโลยีของมหาวิทยาลัยต่างๆ เช่น มก., มช., มข., มอ., มน., มจ., มวล., ม.สุรนารีฯ มจธ., สจล. ฯลฯ
คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) https://www.trf.or.th/
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) https://www.nrct.go.th/
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) https://www.nstda.or.th/
ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินโดยสาขาวิชา/หลักสูตร แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา/หลักสูตร
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน นอกจากนี้ ควรกำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียน การสอน ควรมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน โดยการสุ่มรายวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
 
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของหลักสูตร การรายงานรายวิชา โดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขาวิชา / คณะ เพื่อใช้ในการสอนครั้งต่อไป