การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจอาหารและแผนธุรกิจ

Entrepreneurship in Food Business and Business Plan

1.1  บอกบทบาทการเป็นผู้ประกอบการกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศได้
1.2  มีความรู้ด้านโอกาสในการประกอบธุรกิจ คุณลักษณะและแรงจูงใจในการเป็นผู้ประกอบธุรกิจ
1.3  สามารถอธิบายประเภทและรูปแบบแผนธุรกิจ
1.4  สามารถวิเคราะห์และเขียนแผนธุรกิจได้
1.5  บอกหลักการจัดการด้านตลาด การผลิต การเงิน การบัญชี ภาษีได้
1.6  มีความรู้ด้านกฎหมายธุรกิจ และจริยธรรมสำหรับผู้ประกอบการ
เป็นวิชาใหม่ที่เปิดขึ้นครั้งแรกในหลักสูตรวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร เพื่อต้องการให้นักศึกษาที่สนใจและมีความต้องการเป็นผู้ประกอบการในอนาคตมีความรู้เกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการ
บทบาทการเป็นผู้ประกอบการกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โอกาสในการประกอบธุรกิจ คุณลักษณะและแรงจูงใจในการเป็นผู้ประกอบธุรกิจ ประเภทและรูปแบบแผนธุรกิจ การเขียนแผนธุรกิจ หลักการจัดการด้านตลาด การผลิต การเงิน การบัญชี ภาษี กฎหมายธุรกิจ และจริยธรรมสำหรับผู้ประกอบการ
Pole of entrepreneur and economic development opportunity for running businesses; qualification and motivation for beingan entrepreneur; type and format of business plan; marketing management; production; finance; accounting; tax; business law and morality for entrepreneurs.
จัดให้นิสิตพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง
    3.1 วันพุธ พฤหัส เวลา 16.30 - 17.30 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร โทร.055-298438 ต่อ 2210
   3.2  e-mail; surinipo@gmail.com เวลา 19.00 – 20.00 น. วันจันทร์ถึงพฤหัส
˜1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1. บรรยาย ยกกรณีศึกษาผู้ประกอบการที่ประสบผลสำเร็จและมีจรรยาบรรณ
 
 
 
2. มอบหมายงานระหว่างเรียน และหลังเรียน
1. ประเมินโดยการสังเกตจากการแสดงออกของนักศึกษาที่เข้าชั้นเรียน และ ทัศนคติที่พูดคุยกันและพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน
 
 
 
2. ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมในระหว่างเรียนและพฤติกรรมที่แสดงออกเมื่อเข้าสังคมร่วมกิจกรรมต่าง ๆ การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การทำข้อสอบ การทำงานและสอบถามจากเพื่อนร่วมชั้นเรียน
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่นๆ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การบรรยายให้ความรู้ด้านทฤษฎี
2. ตั้งทำถามระหว่างการสอน ให้นักศึกษาช่วยกันอภิปราย
3. ฝึกให้นักศึกษาเขียนแผนธุรกิจ
1. ประเมินจากการตอบคำถามในชั้นเรียน
2. ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินงานคะแนนสอบ
˜3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
1. สอนโดยให้นักศึกษาฝึกคิดวิเคราะห์หัวข้อต่างๆ เพื่อเขียนแผนธุรกิจ
1. ประเมินจากงานที่นักศึกษาได้ คิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบตามที่อาจารย์มอบหมาย  อาจารย์ชี้แนะส่วนที่ผิดพลาดและเสนอแนะแนวทางแก้ไขร่วมกับนักศึกษา
˜4.1  มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม
1. มอบหมายให้งานให้นักศึกษาทำมีทั้งงานเดี่ยว และเป็นกลุ่ม ให้อิสระนักศึกษาในการกำหนด โดยกำหนดเวลาการส่งงาน
1. ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงอกของนักศึกษาในการเตรียมงาน ระหว่างการทำงาน และการนำเสนองาน
2. ความตรงต่อเวลาที่นักศึกษาจะส่งงาน และการเข้าเรียน
˜5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนะนำนักศึกษาถึงแหล่งข้อมูลด้านเทคโนโลยีที่ผู้ประกอบการควรรู้จัก ให้นักศึกษาหาข้อมูลด้านเทคโนโลยีสำหรับผู้ประกอบการ และนำข้อมูลมานำเสนอในห้องเรียน
ประเมินผลจากข้อมูลที่นักศึกษาได้ติดตามจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับผู้ประกอบมานำเสนอ การแสดงความคิดเห็น
˜6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ              อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. จัดสรรเวลาการสอนทั้งภาคบรรยาย พร้อมทั้งกำหนดบทลงโทษของการไม่ตรงต่อเวลาให้ชัดเจน
2. แบ่งกลุ่มให้นักศึกษาได้ทำงานในหัวข้อต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาเรียน
1. ประเมินจากการเข้าเรียนตรงเวลาของนักศึกษา
2. ประเมินจากความสามารถในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 1
1 BSCFT212 การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจอาหารและแผนธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 2.1, 6.1 - จำนวนครั้งการเข้าเรียนต้องเกิน 80% - การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน - คะแนนกิจกรรมส่วนมหาวิทยาลัย 1-15 10%
2 2.1, 3.2, 5.6 - การสอบภาคทฤษฎีหรือภาควิชาการ 8 และ 17 40%
3 4.1, 5.6, 6.1 - การนำเสนองาน/การรายงานมอบภาคทฤษฎี 1-15 50%
สุริยาพร นิพรรัมย์. 2562. เอกสารประกอบบรรยายรายวิชา  BSCFT212 การเป็นผู้ประกอบการธุรกิจอาหารและแผนธุรกิจ (power point และเอกสารประกอบการสอน)
สมคิด บางโม. 2553. การเป็นผู้ประกอบการ Entrepreneurship. สำนักพิมพ์ เอสเค บุ๊คส์. กรุงเทพฯ. 204 หน้า
สมคิด บางโม. 2559. การเป็นผู้ประกอบการคู่มือเรียนรู้การเป็นผู้ปร ระกอบการมืออาชีพ (ENTREPRENEURSHIP). สำนักพิมพ์ เอสเค บุ๊คส์. กรุงเทพฯ. 192 หน้า
กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกุล. 2559. การเป็นผู้ประกอบการและการสร้างธุรกิจใหม่. สำนักพิมพ์ซีเอ็ดยูเคชั่น. 352 หน้า.
ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. 2553. วิธีเขียนแผนธุรกิจ Business plan. สำนักพิมพ์เอ็กซ์เปอร์เน็ท. 108 หน้า.
www.fda.moph.go.th
http://www.fda.gov
www.sciencedirect.com
www.ift.org/cms
www.thaifoodscience.com
www.nfi.or.th/index.asp
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย 
การสอนถูกประเมินโดยนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน นักศึกษาประเมินผ่านระบบการประเมินของมหาวิทยาลัย และผู้สอนประเมินโดยการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
 การสอนถูกปรับปรุงโดยนำข้อมูลด้านวิชาจากที่เป็นข้อมูลใหม่ ข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัยข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมาและคำแนะนำจากอาจารย์ผู้ที่มีประสบการณ์การสอนรายวิชาเคมีอาหาร มาปรับปรุงเนื้อหา บทปฏิบัติการ และวิธีการสอนให้สามารถสอบสนองต่อความต้องการของนักศึกษา ความรู้ที่เปลี่ยนไปให้ดียิ่งขึ้น
ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา โดยให้นักศึกษาประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ด้วยตัวเองโดยใช้แบบประเมินในรายวิชาเคมีอาหาร 1 และมีคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาอาจารย์ผู้สอนวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์และจัดทำข้อมูลใน มคอ.5
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการจากนักศึกษา  คะแนนสอบของนักศึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา และปัญหาที่นักศึกษาเข้าปรึกษากับอาจารย์ โดยอาจารย์ผู้สอนนำข้อมูลดังกล่าวเข้าขอคำปรึกษาภายในที่ประชุมกับอาจารย์ประจำหลักสูตรท่านอื่นๆ เพื่อร่วมกันแนะนำแนวทาง วิเคราะห์ปัญหา และแก้ปัญหา อีกทั้งยังนำข้อมูลดังกล่าวไปทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้  หากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมภาควิชาฯ เพื่อพิจารณาต่อไป