การวิเคราะห์อาหารสัตว์

Feed Analysis

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
 
1.1 รู้ความสำคัญของการวิเคราะห์อาหารสัตว์
1.2 รู้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์อาหารสัตว์
1.3 รู้การเตรียมสารละลายและการเก็บตัวอย่างสำหรับงานวิเคราะห์อาหารสัตว์
1.4 รู้การวิเคราะห์อาหารสัตว์โดยประมาณ (Proximate analysis)
1.5 รู้การวิเคราะห์แร่ธาตุหลักบางชนิด 
1.6 รู้การวิเคราะห์พืชอาหารสัตว์โดยวิธี Van Soest System
1.7 รู้การวิเคราะห์ค่าพลังงานในอาหารสัตว์
เพื่อให้รายวิชามีความสมบูรณ์และสอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความสำคัญของการวิเคราะห์อาหารสัตว์ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ การเตรียมสารละลาย การสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารสัตว์ การวิเคราะห์อาหารสัตว์โดยประมาณ การวิเคราะห์แร่ธาตุหลักบางชนิด การวิเคราะห์แบบ Van Soest ในพืชอาหารสัตว์ และการวิเคราะห์ค่าพลังงานในอาหารสัตว์
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย  
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสังเกต
3.การสัมภาษณ์
4.การนำเสนองาน
5.การประเมินตนเอง
6.การประเมินโดยเพื่อน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย  
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การสัมภาษณ์
6.การนำเสนองาน
7.ข้อสอบอัตนัย
8. ข้อสอบปรนัย
9.การประเมินตนเอง
10.การประเมินโดยเพื่อน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย  
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การสัมภาษณ์
6.การนำเสนองาน
7.ข้อสอบอัตนัย
8. ข้อสอบปรนัย
9.การประเมินตนเอง
10.การประเมินโดยเพื่อน
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
4. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การสอนแบบบรรยาย  
8. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การเขียนบันทึก
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การสัมภาษณ์
6.การนำเสนองาน
7.การประเมินตนเอง
8.การประเมินโดยเพื่อน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG241 การวิเคราะห์อาหารสัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 รู้ความสำคัญของการวิเคราะห์อาหารสัตว์ 1.2 รู้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์อาหารสัตว์ 1.3 รู้การเตรียมสารละลายและการเก็บตัวอย่างสำหรับงานวิเคราะห์อาหารสัตว์ 1.4 รู้การวิเคราะห์อาหารสัตว์โดยประมาณ (Proximate analysis) 1.5 รู้การวิเคราะห์แร่ธาตุหลักบางชนิด 1.6 รู้การวิเคราะห์พืชอาหารสัตว์โดยวิธี Van Soest System 1.7 รู้การวิเคราะห์ค่าพลังงานในอาหารสัตว์ การเข้าชั้นเรียน การตรงเวลา ความสนใจในชั้นเรียน 1-17 5%
2 1.3 รู้การเตรียมสารละลายและการเก็บตัวอย่างสำหรับงานวิเคราะห์อาหารสัตว์ 1.4 รู้การวิเคราะห์อาหารสัตว์โดยประมาณ (Proximate analysis) 1.5 รู้การวิเคราะห์แร่ธาตุหลักในอาหารสัตว์ 1.6 รู้การวิเคราะห์พืชอาหารสัตว์โดยวิธี Van Soest System 1.7 รู้การวิเคราะห์ค่าพลังงานในอาหารสัตว์ การฝึกภาคปฏิบัติการวิเคราะห์อาหารสัตว์ ทุกสัปดาห์ 15%
3 1.1 รู้ความสำคัญของการวิเคราะห์อาหารสัตว์ 1.2 รู้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์อาหารสัตว์ 1.3 รู้การเตรียมสารละลายและการเก็บตัวอย่างสำหรับงานวิเคราะห์อาหารสัตว์ สอบกลางภาค 8 20%
4 1.4 รู้การวิเคราะห์อาหารสัตว์โดยประมาณ (Proximate analysis) 1.5 รู้การวิเคราะห์แร่ธาตุหลักในอาหารสัตว์ 1.6 รู้การวิเคราะห์พืชอาหารสัตว์โดยวิธี Van Soest System 1.7 รู้การวิเคราะห์ค่าพลังงานในอาหารสัตว์ การทดสอบภาคปฏิบัติการ 17-18 40%
5 1.4 รู้การวิเคราะห์อาหารสัตว์โดยประมาณ (Proximate analysis) 1.5 รู้การวิเคราะห์แร่ธาตุหลักในอาหารสัตว์ 1.6 รู้การวิเคราะห์พืชอาหารสัตว์โดยวิธี Van Soest System 1.7 รู้การวิเคราะห์ค่าพลังงานในอาหารสัตว์ สอบปลายภาค 18 20%
อังคณา หาญบรรจง  ดวงสมร  สินเจิมสิริ. 2532.  การวิเคราะห์และประเมินคุณภาพอาหารสัตว์  ภาควิชา
       สัตวบาล  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 154 น.
AOAC. 1990.  Official  Methods  of  Analysis.  15th  ed.  Association  of  Official  Analytical
             Chemists.    Virginia.  1298 p.  
Nahm, K. H. 1992. Practical Guide to Feed, Forage and Water Analysis. Yoo Han Publishing Inc,
        Korea Republic, 269 p.
Osuji, P.O., I.V. Nsahlai and H. Khalili.1993. Feed Evaluation. ILCA Manual 5. International
Livestock Centre for Africa, Ethiopia, 40 p.
 ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอกเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย ฯลฯ
ให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขาวิชาหรือผลการเรียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
กำหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอนในรูปแบบ การวิจัยในชั้นเรียน หรือการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 
ทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา  เช่น ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย เป็นต้น
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาในภาคเรียนถัดไป