ชีววิทยา

Biology

1.1 ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเซลล์ เนื้อเยื่อ
1.2 เข้าใจและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างของสิ่งมีชีวิต
1.3 เข้าใจและปฏิบัติเกี่ยวกับสรีรวิทยาขั้นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
1.4 เข้าใจและปฏิบัติเกี่ยวกับอนุกรมวิธานของสิ่งมีชีวิต
1.5 เข้าใจและปฏิบัติเกี่ยวกับนิเวศวิทยาและความหลากหลายทางชีวภาพ
เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจด้านชีววิทยาเป็นพื้นฐานและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและชีวิตประจำวัน
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเซลล์ เนื้อเยื่อ โครงสร้างของสิ่งมีชีวิต  สรีรวิทยาขั้นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต อนุกรมวิธานของสิ่งมีชีวิต นิเวศวิทยาและความหลากหลายทางชีวภาพ
จัดตารางเวลาการเข้าพบเพื่อให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาเป็นเวลา 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์โดยมีประกาศให้นักศึกษาทราบและนักศึกษาสามารถเข้าพบเพื่อศึกษาได้นอกช่วงตารางเวลาที่เหมาะตามความเหมาะสม
1.1  มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
  1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
  1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบ และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีที่สามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน
2. มอบหมายงานให้นักศึกษาแต่ละคน เพื่อให้มีการฝึกฝนการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง เพื่อให้สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขเมื่อพบข้อขัดแย้งจากการทำงาน  ร่วมกัน
3.สอบย่อยเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาทบทวนบทเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1. เช็คชื่อการเข้าเรียน
ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ตามกำหนดที่ให้และตรงเวลา
2. ส่งรายงานมีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.ประเมินผลการเรียนรู้จากการสอบวัดผล
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและแนวทางปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
  2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. มอบหมายงานให้นักศึกษาแต่ละคน ได้ทำการวิเคราะห์ สรุปเนื้อหา
แลทำเพื่อให้มีการฝึกฝนการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง
2.   มอบหมายงานให้นักศึกษาทำงานกลุ่มโดยให้ทำการค้นคว้าเนื้อหาที่ได้เรียนเพิ่มเติม
3. มีการทดสอบโดยให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดหลังจากเรียน และมีการสอบย่อยเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาทบทวนบทเรียนอย่างสม่ำเสมอ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
  3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. บรรยายยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ความรู้ทางชีววิทยา
2.   ให้นักศึกษาร่วมแสดงความคิดเห็นหลังการบรรยาย
3. ให้นักศึกษาทำงานกลุ่มในหัวข้อที่กำหนด
. การนำเสนอหน้าชั้นเรียน และการร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นร่วมกันในห้องเรียน
  4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
  4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
กำหนดงานให้ทำเป็นกลุ่มโดยให้ปรึกษา แบ่งงานกันทำ และนำเสนอทุกคน 
1. ประเมินตนเองและเพื่อนจากกระบวนการทำงาน
2. กรรมการทำงานเป็นทีม และผลงานที่ทำเป็นกลุ่ม สังเกตพฤติกรรมระหว่างเรียน
  5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
  5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
  5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธภาพ
1. มอบหมายงานการค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต รวมถึงการส่งงาน ติดต่อการเรียนการสอน ผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์
2. ตรวจสอบการพูดภาษาไทย อังกฤษให้ถูกต้องเมื่อมีการใช้ในชั้นเรียน
1. ตรวจงานที่มอบหมาย  รวมไปถึงการสังเกตพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์เพื่อการค้นคว้าข้อมูล
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลฯ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCCC112 ชีววิทยา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1-2.2 สอบกลางภาค ,สอบปลายภาค ,รายงานผลปฏิบัติการ สอบปฏิบัติการ 9, 17, ระหว่างเรียน ,17 25%, 25%, 20%, 10%
1. กฤษณ์ มงคลปัญญา และอัมรา ทองปาน. 2542. ชีววิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 4.
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 352 น.
        2. เชาวน์ ชิโนลักษณ์ และพรรณี ชิโนลักษณ์. 2540. ชีววิทยา 1. พิมพ์ครั้งที่ 5.
สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาการ, กรุงเทพฯ. 845 น.
        3. เชาวน์ ชิโนลักษณ์ และพรรณี ชิโนลักษณ์. 2540. ชีววิทยา 2. พิมพ์ครั้งที่ 5.
สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาการ, กรุงเทพฯ. 845 น.
        4. เชาวน์ ชิโนลักษณ์ และพรรณี ชิโนลักษณ์. 2540. ชีววิทยา 3. พิมพ์ครั้งที่ 5.
สำนักพิมพ์ศิลปาบรรณาการ, กรุงเทพฯ. 845 น.
        5. ทบวงมหาวิทยาลัย. 2530. ชีววิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 4. โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, กรุงเทพ ฯ. 853 น.
        6.  นิตยา เลาหะจินดา. 2549. นิเวศวิทยา: พื้นฐานสิ่งแวดล้อมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพ ฯ. 292 น.
       7.  ประดิษฐ์ พงศ์ทองคา. 2543. พันธุศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์, กรุงเทพ ฯ. 398 น.
       8. ปรีชา สุวรรณพินิจ และนงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. 2542. ชีววิทยา2. พิมพ์ครั้งที่ 3. จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ ฯ. 1276 น.
       9. ปรีชา สุวรรณพินิจ และนงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. 2543. ชีววิทยา1. พิมพ์ครั้งที่ 4. จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, กรุงเทพ ฯ. 444 น.
     10. Audesirk, Gerald and Audesirk, Teresa. 1989. Biology: Life On Earth. 2nd ed.
Macmillan Publishing Company, New York. 723 p.
     11. Campbell, Neil A. and Reece, Jane B. 2002. Biology. 6th ed. Pearson   Education, Inc., San Fancisco. 1247 p.
ไม่มี
           เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชาชีววิทยา เช่น วิกิพีเดีย (Wikipedia)
          การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
                 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
                 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
                 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านอินเตอร์เน็ต (E-mail)  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสาร
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
                  2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
                  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
                  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
          หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
                3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
                3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
               4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ผู้สอน อาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
               4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
                  5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
                 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ