ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์

Computer Science Research Methodology

1. รู้และเข้าใจระเบียบวิธีการวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
2. อธิบายเทคนิคและกระบวนการวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ได้
3. สามารถเขียนโครงการวิจัยในสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ได้
4. พัฒนาทักษะทั้งการอ่าน การเขียน และการนำเสนอการวิจัย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวคิดพื้นฐานของระเบียบวิธีการวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
ศึกษาหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่ใหม่และน่าสนใจ หรือเป็นวิชาขั้นสูง โดยศึกษาระเบียบวิธีการวิจัยต่างๆ นาเสนอโครงการวิจัย รายงาน การนาเสนอผลงาน ฝึกการเขียนรายงานอย่างเป็นทางการ เพื่อเป็นโครงงานหรือการประมวลผลความรู้นาไปประยุกต์ใช้งานในวิชาโครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ Study on topic about modern computer science and interested or advance topic by focus on research methodology ,presentation report and poster or oral presentation. Practice on formal report writing and make computer project.
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต 
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม 
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 
1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 
1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 
1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ ร่วมทั้งนำเว็บไซต์ยอดนิยมที่ได้รับความสนใจมาเป็นกรณีศึกษา
1.2.2 อภิปรายกลุ่ม/ทำงานเดี่ยว/กลุ่ม หรือ ทำเว็บไซต์ส่วนตัวส่งเป็นชิ้นงาน 
1.2.3 นำเสนองานระบบเว็บไซต์ที่สามารถเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลได้เพื่อเป็นชิ้นงาน
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาจากโปรแกรมที่นักศึกษาเขียนตามการใช้งานจริง 
1.3.4 ประเมินผลงานการพัฒนาเว็บไซต์หน้าห้องเรียนและให้สมาชิกสอบถามและแนะนำ
- มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถอธิบายได้ถึงหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อหาด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ 
- สามารถวิเคราะห์ความต้องการ และแก้ไขปัญหาโดยการประยุกต์ใช้ความรู้ และทักษะด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ 
- สามารถออกแบบ และสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ 
- สามารถศึกษา ค้นคว้า ติดตามการเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และนาไปพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง 
- สามารถบูรณาการความรู้ด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ในการทางานร่วมกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ใช้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีอย่างครบถ้วน 
- เน้นการเรียนรู้และการแก้ปัญหาด้วยโครงงานรายวิชา 
- เน้นการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ
- การทดสอบย่อย 
- การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 
- ประเมินจากรายงาน หรือโครงงานรายวิชาที่นักศึกษาจัดทา 
- ประเมินจากการนาเสนอรายงาน และการซักถามของนักศึกษาในชั้นเรียน 
- สังเกตพฤติกรรมและประเมินความเข้าใจในเนื้อหาของนักศึกษาจากการถาม-ตอบของนักศึกษาในชั้นเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีทักษะทางการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า
การมอบหมายให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด โครงงานย่อย และนำเสนอผลการดำเนินงาน
จากการนำเสนอรายงาน การซักถาม การตอบคำถาม
4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 
4.1.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 
4.1.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 
4.1.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 
4.1.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 
4.1.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง คุณสมบัติต่างๆนี้สามารถวัดระหว่างการทำกิจกรรรมร่วมกัน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การทำใบงาน และวิเคราะห์โจทย์นำมาเขียนโปรแกรมได้ ทั้งตัวอย่างในชีวิตประจำวันนำมาเขียนเป็นโปรแกรมได้ 
4.2.3 การนำเสนอผลงานโปรแกรม
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานของนักศึกษา 
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 
5.1.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 
5.1.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 
5.1.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และสร้างโปรแกรมตามแนวคิดมาเป็นรูปแบบผลงานซอฟต์แวร์  และทำรายงานรูปเล่มรวบรวมผลงานโดยเน้นการสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ถูกต้องตามมาตรฐานสากล และเป็นที่ยอมรับของผู้ใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน ผลงาน  และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีนำเสนอตามผลงานในลักษณะงานของนักศึกษา 
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย  วิธีการตอบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การนำเสนองานแต่ละหน่วยเรียน 2-6 20%
2 รายงานโครงร่างการวิจัย 1-8, 10-17 20%
3 การนำเสนอโครงร่างการวิจัย 10-11, 14-15 30%
4 คะแนนจิตพิสัยและการเข้าชั้นเรียน 1-8, 10-17 10%
5 การสอบปลายภาค 18 20%