การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ

Production and Operations Management

1.1 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจแนวคิดและความสำคัญของการบริหารการผลิต
1.2 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการพยากรณ์ยอดขายและเทคนิคการพยากรณ์ที่จะนำไปใช้ในการ
วางแผนและตัดสินใจด้านการผลิต
1.3 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการเลือกทำเลที่ตั้ง การวางผังโรงงาน การออกแบบกระบวนการ
ผลิต การออกแบบผลิตภัณฑ์และการควบคุมต้นทุนการผลิต
1.4 เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยการควบคุมคุณภาพสินค้า การ
ซ่อมบำรุงรักษาและเทคนิคการผลิตต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานทางด้านบริหารการผลิต เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาและทักษะในการนำความรู้ไปใช้ชีวิตประจำวัน ในการทำงานและเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ ฝึกให้เป็นคนมีเหตุผลและรอบคอบ โดยมีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการผลิตและระบบการบริการ การออกแบบผลิตภัณฑ์และการบริการ การพยากรณ์ความต้องการ การเลือกทำเลที่ตั้ง การวางแผนผังกิจการ การวางแผนควบคุมการผลิตและบริการ วิธีการทำงาน การวิเคราะห์และการปรับปรุงวิธีการทำงาน การบริหารสินค้าคงเหลือและการควบคุมคุณภาพ
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการ) หรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษา 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้
3.1 วันพุธ(คาบกิจกรรม) เวลา15.00 - 17.00 น.ของทุกสัปดาห์ ห้องลีลาวดี
โทร. 091-1434293
3.2 E-mail : duangpikul@yahoo.com
1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่นไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม
1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวคิดความพอประมาณ ความมีเหตุผลและการสร้างภูมิคุ้มกัน
1.4 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์การและสังคม
1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่จะแยกแยะความถูกต้อง ความดีและความชั่ว
1. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยการเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. กำหนดงานเป็นกลุ่มย่อย เน้นความมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
3. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เกิดจิตสำนึกในการมีคุณธรรม จริยธรรม
4. ให้การยกย่องชมเชยผู้ที่มีความซื่อสัตย์เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดี
5. กำหนดระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบ
6. มีกิจกรรมที่ส่งเสริมในเรื่องความเสียสละเพื่อส่วนรวมและบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
1.ประเมินจากเวลาการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาและเวลาการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ประเมินจากผลงานกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
3. จำนวนการเข้าร่วมกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์หรือกิจกรรมสาธารณประโยชน์ต่าง ๆ
4. ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
2.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดการองค์กรและทรัพยากรมนุษย์
2.3 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การปฏิบัติการ การควบคุมและการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนงาน
1. ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษ
3. จัดการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
4. ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
5. ประเมินจากแผนธุรกิจหรือโครงการที่นำเสนอ
6. ประเมินจากผลการฝึกงานหรือสหกิจศึกษา
3.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเหมาะสม
3.3 สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้
1. กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผนการทำงานเป็นทีม
2. ใช้สถานประกอบการฝึกปฏิบัติงานจริง
3. มีการอภิปรายเพื่อสรุปประเด็นผลการศึกษาและปัญหาที่เกิดขึ้น รวมทั้งการเสนอแนวทางการแก้ไข
4. เน้นถึงศาสตร์และศิลป์รวมถึงรูปแบบในการนำเสนอผลงาน และให้นักศึกษานำเสนอผลงานจริง
1.ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา
2. ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหา โดยการประยุกต์ความรู้ที่เรียนมาซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา
3. ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
4.2 มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่มการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงการเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ
1. มอบหมายงานที่ต้องใช้การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
2. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งภายในสถาบันการศึกษาและภายนอกสถาบันการศึกษา
3. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน
4.มีกิจกรรมส่งเสริมมนุษยสัมพันธ์ เช่นยกย่องชมเชยนักศึกษาที่มีมนุษยสัมพันธ์ดีเด่น
1. ประเมินจากพฤติกรรมในการทำกิจกรรมระหว่างนักศึกษาในกลุ่ม
2. ประเมินจากผลงานของนักศึกษาทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม
3. มีการร่วมประเมินทั้งอาจารย์และนักศึกษา
5.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ
5.3สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
1.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
2. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
3. มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.ประเมินจากการอธิบายหลักการเข้าถึงข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. ประเมินจากการสรุปและอภิปรายงานที่ได้รับมอบหมายร่วมกัน
3. ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. ประเมินจากการทดสอบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรมจริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้อง 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและต่อผู้อื่นไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม 1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักในการดำเนินชีวิต โดยยึดแนวคิดความพอประมาณ ความมีเหตุผลและการสร้างภูมิคุ้มกัน 1.4 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์การและสังคม 1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรมที่จะแยกแยะความถูกต้อง ความดีและความชั่ว 2.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน การผลิตและการดำเนินงาน รวมทั้งการจัดการองค์กรและทรัพยากรมนุษย์ 2.3 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การปฏิบัติการ การควบคุมและการประเมินผลการดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุงแผนง 3.2 สามารถสืบค้น จำแนก และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเหมาะสม 3.3 สามารถคิดค้นทางเลือกใหม่ ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้ 4.2 มีความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่มการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงการเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ 5.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ 5.3สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบสารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
1 BBABA202 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2, 2.3, 3.2, 3.3, 5.1,5.3 การทดสอบย่อย (Test) บทที่ 1 2 10 %
2 2.2, 2.3, 3.2, 3.3, 5.1,5.3 การสอบกลางภาค บทที่ 2 และบทที่ 3 9 10 %+15 % = 25 %
3 2.2, 2.3, 3.2, 3.3, 5.1,5.3 การทดสอบย่อย (Test) บทที่ 4 12 10 %
4 2.2, 2.3, 3.2, 3.3, 5.1,5.3 การสอบปลายภาค บทที่ 5, บทที่ 6 17 10 %+15 % = 25 %
5 2.2, 2.3, 3.2, 3.3, 5.1,5.3 งานที่มอบหมาย เช่น การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงานและ แบบฝึกหัด 1-8, 10-16 20 %
เกียรติศักดิ์ จันทร์แดง. การบริหารการผลิตและการปฏิบัติการ. กรุงเทพมหานคร: วิตตี้ กรุ๊ป, 2549.
(2) ชุติระ ระบอบและผ่องใส เพ็ชรรัตน์. เอกสารประกอบการสอนการจัดการการผลิตและ การดำเนินงาน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต, 2545.
(3) ดังเจตน์ เชี่ยววัฒนา. การบริหารกระบวนการผลิต. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. , 2546.
(4) ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. การจัดการผลิตและการดำเนินงาน. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ด ยูเคชั่น, 2545.
(5) ยุทธ กัยวรรณ์. การบริหารการผลิต. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ, 2543.
(6) รชฏ ขำบุญและคณะ. การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ. กรุงเทพมหานคร: เพียร์ สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า. 2551.
(7) วิฑูรย์ สิมะโชคดี. นักบริหารการผลิตยุค 2000. พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพมหานคร:
สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย - ญี่ปุ่น), 2543.
(8) สุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน. การบริหารการผลิตและการดำเนินงาน. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548.
(9) สุธี ขวัญเงิน. การจัดการผลิตและการปฏิบัติการ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2545.
(10) สุปัญญา ไชยชาญ. การบริหารการผลิต. กรุงเทพมหานคร: พี.เอ ลีฟวิ่ง, 2544.
(11) สุมน มาลาสิทธิ์. การจัดการผลิต/การดำเนินงาน. พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร:
สามลดา, 2548.
 
(1) กัลยา วานิชย์บัญชา. การวิเคราะห์สถิติ:สถิติสำหรับการบริหารและวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545.
(2) ยุทธ กัยวรรณ์. การบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยสาส์น, 2548.
(1) จดหมายข่าวรายเดือน. สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.[ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก www.ftpi.or.th
สืบค้นวันที่ 31 กรกฎาคม 2558
(2) วารสารอุตสาหกรรม. กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก www.dip.go.th สืบค้น
วันที่ 31 กรกฎาคม 2558
(3) หนังสือพิมพ์ทางธุรกิจต่างๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ
(4) วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยทางธุรกิจและเว็บไซต์ต่างๆ ทางธุรกิจ
1.1 อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษาเสนอแนะการเรียนการสอนในรายวิชานี้ เขียนลงบนกระดาษที่
แจกให้ในชั้นเรียน
1.2 ผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ดำเนินการประเมินโดย มทร.ล้านนา
น่าน
1.3 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.1 ผลการสอบ/การเรียนรู้
2.2 การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
2.3 การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ
3.1 แก้ไขข้อบกพร่องจากผลการประเมินผู้สอนจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา
3.2 แก้ไขข้อบกพร่องจากข้อเสนอแนะจากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชาในชั้นเรียน
3.3 การทำวิจัยในชั้นเรียน (ถ้ามี)
3.4 การประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่างผู้สอน
4.1 ทวนสอบคะแนนสอบของนักศึกษาตามจุดประสงค์การสอนแต่ละหน่วยเรียน
4.2 ทวนสอบงานที่มอบหมายของนักศึกษาตามจุดประสงค์การสอนแต่ละหน่วยเรียน
4.3 ทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา โดยอาจารย์ท่านอื่นหรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.4 แต่งตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย
ตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรมของนักศึกษา
5.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการประเมินผู้สอน จากนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา
ดำเนินการประเมินโดย มทร.ล้านนา น่าน
5.2 วิเคราะห์และสังเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
5.3 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์
ตามข้อ 4.
5.4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหา
ทางการผลิตและการจัดการ โดยวิธีการสอนที่หลากหลายและ/หรือจากงานวิจัยของอาจารย์
ผู้สอน (ถ้ามี)