ธุรกิจและสิ่งแวดล้อม

Business and Environment

1. เข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
2. เข้าใจเกี่ยวกับองค์การธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม
3. เข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรม
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจที่เป็นปัจจุบัน
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมภายในธุรกิจที่เป็นปัจจุบัน
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในธุรกิจที่เป็น
ปัจจุบัน
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคของธุรกิจ สภาพแวดล้อมของธุรกิจทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจการเมือง เทคโนโลยีและสภาพภูมิศาสตร์ แนวโน้มและทิศทางของธุรกิจ ผลกระทบต่อการดำเนินงานทางธุรกิจ การปรับตัวของธุรกิจต่อสภาพแวดล้อมในยุคปัจจุบัน การสร้างจิตสำนึกในการดำเนินธุรกิจเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่สังคม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีสามารถทำงานเป็นทีม เข้าใจตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมมีความซื่อสัตย์สุจริต เคารพสิทธิและรับฟังความ
คิดเห็นของผู้อื่น เห็นคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีวินัย ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีจรรยาบรรณทาง
วิชาการและวิชาชีพ
1.2.2 วิธีการสอนโดยการบรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
1.2.2 มอบหมายงานเป็นกลุ่ม และวิเคราะห์ โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
1.2.3. ยกตัวอย่างกรณีศึกษา
1.2.4 ให้นักศึกษาเข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรมทำบุญตักบาตรและพิธีบายศรีสู่ขวัญ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์
1.3.1 สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนและติดตามงานที่ได้มอบหมาย
1.3.2 ประเมินจากการรายงานผล และส่งงาน
1.3.3 ประเมินผลจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมภายในธุรกิจ
2.1.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมภายนอกธุรกิจ
2.1.3 สามารถวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายนอก และภายในธุรกิจ
2.1.4 สามารถติดตามข่าวสารทางด้านธุรกิจ และการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ธุรกิจ
2.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง
2.2.2 อภิปรายหลังการสอน
2.2.3 การทำงานกลุ่ม และนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า
2.2.4 การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem – based Learning)
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ
2.3.2 นำเสนอผลการทำงานกรณีศึกษา
ความสามารถในการประยุกต์ความรู้ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อการประกอบธุรกิจ
3.2.1 มอบหมายงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
3.2.2 อภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้
3.3.1 ให้นักศึกษาประเมินตนเอง ในแต่ละกลุ่ม
3.3.2 ประเมินจากผลงานการนำเสนอ
3.3.3 สังเกตการณ์ความมีส่วนร่วมในการถาม-ตอบ-วิเคราะห์
มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยฝึกปฏิบัติการสร้างฐานข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล
นำเสนอผลการทำงานกรณีศึกษา และตอบข้อซักถามของอาจารย์
มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนโดยเลือกใช้รูปแบบของการสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสมและสามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสมในการสร้างฐานข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล
กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยฝึกปฏิบัติการสร้างฐานข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล ที่ต้องไปเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ สอบถาม บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับงาน และนำเสนอผลการทำงานกรณีศึกษา จัดส่งรายงาน และการอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้
5.3.1 ประเมินจากการส่งงานตามกำหนด
5.3.2 ประเมินจากรายงานผลความก้าวหน้าที่มอบหมายเป็นระยะ
5.3.3 ประเมินจากผลการประเมินตนเองและกลุ่ม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ทดสอบย่อย (จำนวน 4 ครั้ง) 9 17 ตลอดภาคการศึกษา 25 % 25 % 20 % การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน, แบบฝึกหัด, งานมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10 % 20 % 9, 18 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ทดสอบย่อย (จำนวน 4 ครั้ง) 9 17 ตลอดภาคการศึกษา 25 % 25 % 20 % การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน, แบบฝึกหัด, งานมอบหมาย ตล
จินตนา บุญบงการ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจพิมพ์ครั้ง 8 ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม
ณัฐพันธ์ เขจรนันท์. การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร : วีพริ้นท์ (1991), 2552.
สมชนก (คุ้มพันธ์ุ) ภาสกรจรัส. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ดีจำกัด, 2561.
จินตนา บุญบงการ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจพิมพ์ครั้ง 8 ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม
สมชนก (คุ้มพันธ์ุ) ภาสกรจรัส. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ดีจำกัด, 2561.
วารสารธุรกิจทั้งไทยและต่างประเทศ
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

 
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน

ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินข้อสอบ

 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพิ่มกรณีศึกษา และให้วิเคราะห์สถานการณ์การดำเนินธุรกิจในปัจจุบัน
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร

มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบรายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4