เทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์

Dairy and Dairy Products Technology

1.1  สามารถบอกองค์ประกอบของน้ำนมได้
1.2  สามารถอธิบายสมบัติทางฟิสิกส์ เคมี และจุลชีววิทยาของน้ำนมได้
1.3  สามารถบอกปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของน้ำนมได้
1.4  สามารถอธิบายกระบวนการแปรรูปน้ำนม และผลิตภัณฑ์จากน้ำนมนมชนิดต่างๆ ได้
1.5  สามารถตรวจสอบคุณภาพน้ำนมและผลิตภัณฑ์นมชนิดต่างๆ
2.1 มีการปรับปรุงโดยเน้นรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ หรือ Social distancing เนื่องจากสถานการณ์โรคระบาดโควิด 19
2.2 ปรับปรุงบทปฏิบัติการให้สอดคล้องกับตรวจสอบคุณภาพน้ำนมของโรงงานอุตสาหกรรมน้ำนมในปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบและสมบัติทางฟิสิกส์ เคมี และจุลินทรีย์ของน้ำนม ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพของน้ำนม กระบวนการแปรรูปน้ำนมและผลิตภัณฑ์ การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพน้ำนมและผลิตภัณฑ์นมชนิดต่างๆ
      Study on milk composition, their physico-chemical and microbiological properties; factor affecting to dairy quality; processing; analysis and quality control of dairy and dairy products.
 
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง
    3.1 วันพุธ เวลา 15.30 - 16.30 น. หรือเวลาอื่น ๆที่นักศึกษาและอาจารย์สะดวกตรงกันโดยนักผ่าน Line หรือ Inbox Facebook เพื่อพูดคุยที่ห้องพักอาจารย์สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร โทร.055-298438 ต่อ 1188
   3.2  e-mail; surinipo@gmail.com, Line และ Inbox facebook
š1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
š1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
š1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
˜1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. มีการลงชื่อเข้าเรียน โดยเน้นการตรงต่อเวลา และการแต่งกายให้เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นรายบุคคล และกลุ่ม โดยฝึกความรับผิดชอบในการทำงาน โดยฝึกให้รู้หน้าที่การเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกของกลุ่ม โดยเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของเพื่อร่วมงาน
3. สอดแทรกเรื่องความซื่อสัตย์ไม่กระทำการทุจริตยกตัวอย่างเช่น การสอบหรือคัดลอกงานที่ได้รับมอบหมายของผู้อื่น
4. สอนโดยสอดแทรก เรื่องคุณธรรม และจริยธรรม ของการใช้สารเคมี หรือสารเจือปนในอุตสาหกรรมนม กฎหมาย มาตรฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับน้ำนมและผลิตภัณฑ์นม โดยตระหนักถึงผู้บริโภคเป็นสำคัญ
1. ประเมินโดยอาจารย์ผู้สอน จากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาที่เข้าชั้นเรียน และจากรายงานที่มีการส่งตรงเวลาตามระยะเวลาที่ได้รับมอบหมาย
2. ประเมินโดยอาจารย์ผู้สอน และเพื่อนนักศึกษาในกลุ่มเรียน จากการสังเกต และสอบถามสมาชิกในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายงาน จากการสอบถามถึงการมีส่วนร่วมของนักศึกษาและสังเกตจากกระบวนการทำงานตั้งแต่งวางแผนแบ่งงาน เก็บข้อมูล จัดทำ นำเสนอ และการตอบคำถาม
3. ประเมินโดยอาจารย์ผู้สอน จากจำนวนครั้งที่นักศึกษาทีถูกร้องเรียนเรื่องการกระทำทุจริต
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 š2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่นๆ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
˜2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
š2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. การบรรยายให้ความรู้ด้านทฤษฎีผ่านสื่อออนไลน์ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด หรือใช้ Social distancing
2. ตั้งทำถามระหว่างการสอน ให้นักศึกษาช่วยกันอภิปรายโดยเน้นความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับน้ำนมและผลิตภัณฑ์
3. สอนปฏิบัติโดยให้นักศึกษาฝึกการวิเคราะห์ ใช้ Social distancing และสังเคราะห์ผลการทดลองจัดให้มีจัดทำรายงานหลังจากทำปฏิบัติการเป็นรายบุคคล
 
 
1. มอบหมายงานในหัวข้อเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์นม ในรูปแบบที่นักศึกษาถนัด โดยให้นักศึกษาคิดหัวข้อย่อย รวบรวมข้อมูลคิดวิเคราะห์ การทดลอง บริการวิชาการ และจัดทำรายงานสรุปผล
1. อาจารย์ผู้สอนประเมินจากการตอบคำถามในชั้นเรียน
2. อาจารย์ผู้สอนประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย
3. อาจารย์ผู้สอนประเมินจากคะแนนสอบของนักศึกษากลางภาคและปลายภาค
4.นักศึกษาประเมินตนเองหลังสิ้นสุดภาคการศึกษา
 
 
 
 
 
1.อาจารย์ผู้สอนประเมินจากเนื้องานที่แสดงถึงงความก้าวหน้าทางวิชาการที่นักศึกษาจัดทำ 2. อาจารย์ผู้สอนประเมินจากการตอบคำถาม
š3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
š3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
š3.3 สามารถใช้ทักษะความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัยและงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
˜3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1. สอนโดยให้นักศึกษาฝึกทักษะในภาคปฏิบัติการตรวจสอบคุณภาพ การแปรรูป ผลิตภัณฑ์นม โดยให้นักศึกษาต้องปฏิบัติจริงทุกคน
1. อาจารย์ผู้สอนประเมินจากการสังเกตความถูกต้องระหว่างการปฏิบัติของนักศึกษา
2. อาจารย์ผู้สอนประเมินจากรายงานบทปฏิบัติการของนักศึกษา
3. นักศึกษาประเมินตนเองหลังสิ้นสุดภาคการศึกษา
˜4.1  มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเอง และรับผิดชอบในงานกลุ่ม
š4.2  สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่ม และสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
š4.4  สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งตนเองและทางวิชาชีพได้อย่างต่อเนื่อง
1. มอบหมายให้งานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม ให้อิสระนักศึกษาในการกำหนดหัวหน้ากลุ่มและสมาชิกในกลุ่ม
1. อาจารย์ผู้สอนประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการเตรียมงาน ระหว่างการทำงาน หรือกิจกรรมในชั้นเรียน
2. นักศึกษาประเมินตนเองหลังสิ้นสุดภาคการศึกษา
š5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
š5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งของมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
š5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
š5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆได้อย่างเหมาะสม
˜5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
š5.7 สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1. มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นและเลือกใช้แหล่งข้อมูลที่ถูกต้อง
1. อาจารย์ผู้สอนประเมินความถูกต้องของเนื้อหา และการอ้างอิงจากสื่ออิเล็กทรอนิคจากข้อมูลที่นักศึกษาสืบค้นมา
2. นักศึกษาประเมินตนเองหลังสิ้นสุดภาคการศึกษา
˜6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ              อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. จัดสรรเวลาการสอนทั้งภาคบรรยาย และปฏิบัติให้ชัดเจน พร้อมทั้งกำหนดบทลงโทษของการไม่ตรงต่อเวลาให้ชัดเจน
2. แบ่งกลุ่มในภาคปฏิบัติ ให้นักศึกษาใช้เครื่องมืออุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์และการแปรรูปผลิตภัณฑ์นม
1. อาจารย์ผู้สอนประเมินจากการเข้าเรียนตรงเวลาของนักศึกษา
2. อาจารย์ผู้สอนประเมินจากการสังเกตการเอาใจใส่ในการใช้เครื่องมือและดูแลการใช้เครื่องมือที่ถูกต้องและสร้างสรรค์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบต่อสังคม 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 6 1 2 3 4 5 6 7 1
1 BSCFT119 เทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,1.5,6.1 - จำนวนครั้งการเข้าเรียนต้องเกิน 80% - การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน - คะแนนกิจกรรมส่วนมหาวิทยาลัย 1-8 และ 10-16 10%
2 2.1,2.3 - การสอบกลางภาค 9 25%
3 2.1,2.3 - การสอบปลายภาค 17 25%
4 3.4,6.1,4.1,4.6,6.1 ปฏิบัติการและรายงานการปฏิบัติการ 1-14 25%
5 1.5,4.1,4.6,5.6,6.1 นำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย -การออกแบบผังโรงงานนม กำหนดอุปกรณ์ เครื่องมือ และวิธีการทำความสะอาด -กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์นม 15-16 15%
สุริยาพร นิพรรัมย์. 2563. เอกสารประกอบบรรยายรายวิชา รหัสวิชา BSCFT119  เทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์ (power point และเอกสารประกอบ)
Robinson, R. K. (2012). Modern Dairy Technology: Volume 2 Advances in Milk Products. Springer Science & Business Media.
Walstra, P. (2013). Dairy technology: principles of milk properties and processes. CRC Press.
นิธิยา  รัตนาปนนท์. (2557). เคมีนมและผลิตภัณฑ์นม. โอ เอส พริ้นติ้ง เฮาส์. กรุงเทพฯ. 206 หน้า.
www.fda.moph.go.th
http://www.fda.gov
www.sciencedirect.com
www.ift.org/cms
www.thaifoodscience.com
www.fostat.org/index.php
www.foodsciencetoday.com
www.nfi.or.th/index.asp
www.foodfocusthailand.com/home.ph
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การสอนถูกประเมินโดยนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน นักศึกษาประเมินผ่านระบบการประเมินของมหาวิทยาลัย และผู้สอนประเมินโดยการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
การสอนถูกปรับปรุงโดยนำข้อมูลด้านวิชาจากที่เป็นข้อมูลใหม่ ข้อมูลหรือความรู้ที่ได้จากงานวิจัยข้อมูลจากการฝึกอบรมต่าง ข้อมูลที่นักศึกษาประเมิน ข้อมูลจาก มคอ.5 จากปีการศึกษาที่ผ่านมาและคำแนะนำจากอาจารย์ผู้ที่มีประสบการณ์การสอนรายวิชาเทคโนโลยีน้ำนมและผลิตภัณฑ์ มาปรับปรุงเนื้อหา บทปฏิบัติการ และวิธีการสอนให้สามารถสอบสนองต่อความต้องการของนักศึกษา ความรู้ที่เปลี่ยนไปให้ดียิ่งขึ้น
          มีการนำนักศึกษาไปดูงานนอกสถานที่ตามที่นักศึกษาเสนอ และนำข้อมูลความรู้ที่ได้จากการศึกษานอกสถานที่มาอภิปลายแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เพิ่มกิจกรรมที่นักศึกษาต้องรับผิดชอบเป็นรายบุคคล เพื่อจะได้ประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษารายบุคคลได้
คณะกรรมการประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนนและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการจากนักศึกษา คะแนนสอบของนักศึกษา สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา และปัญหาที่นักศึกษาเข้าปรึกษากับอาจารย์ โดยอาจารย์ผู้สอนนำข้อมูลดังกล่าวเข้าขอคำปรึกษาภายในที่ประชุมกับอาจารย์ประจำหลักสูตรท่านอื่นๆ เพื่อร่วมกันแนะนำแนวทาง วิเคราะห์ปัญหา และแก้ปัญหา อีกทั้งยังนำข้อมูลดังกล่าวไปทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้  หากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการจะนำเสนอในที่ประชุมภาควิชาฯ เพื่อพิจารณาต่อไป