ปัญหาพิเศษทางสัตวศาสตร์

Special Problems in Animal Science

ศึกษาและทดลองทางด้านสัตวศาสตร์  เพื่อให้เกิดความรู้และทักษะ  เรียบเรียงผลการศึกษาเป็นเอกสารรายงานได้
เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ การปรับปรุงของหลักสูตร และกระตุ้นให้นักศึกษามีการพัฒนาการกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
        ศึกษาและทดลองทางด้านสัตวศาสตร์  เพื่อให้เกิดความรู้และทักษะ  เรียบเรียงผลการศึกษาเป็นเอกสารรายงานได้
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์
1. การเรียนแบบค้นพบ   (Discovery Learning)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)    
3. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
4. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)     
5. การสอนโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share) 
6. การสอนฝึกปฏิบัติการ  
7. การสอนโดยใช้เกม (Games
8. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
การสังเกต, การสัมภาษณ์, การส่งงาน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและ หลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การนำเสนองาน
3. การตอบคำถาม
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทาง ด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่าง มีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) 
2. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การนำเสนองาน
3. การตอบคำถาม
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือ สังคม ในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
1. การนำเสนองาน
2. การสังเกต
3. การตอบคำถาม
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่ เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการ สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้  Power point / Visualizer  มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1. การนำเสนองาน
2. การสังเกต
3. การตอบคำถาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์ มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและ หลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทาง ด้านวิชาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่าง มีระบบ มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือ สังคม ในประเด็นที่เหมาะสม สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่ เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการ สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 23021499 ปัญหาพิเศษทางสัตวศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ การเข้าชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-18 5%
2 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและ หลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา การตอบคำถาม 17 20%
3 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทาง ด้านวิชาการหรือวิชาชีพ สื่อที่ใช้ประกอบการนำเสนอ 17 10%
4 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-18 5%
5 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่ เหมาะสม การนำเสนองาน(วาจา+เอกสาร) 17 60%
ประมวล  เติมสมบัติถาวร  และ  นันทา  เติมสมบัติถาวร.  2550. คู่มือการทำปัญหาพิเศษ.  น่าน : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.  
 
-ไม่มี-
-ไม่มี-
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรม ทั้งในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการ เรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้ง โดยสาขาวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการ ประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนด ทุกสาขา การศึกษา สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์ การสอน/ การวิจัยในชั้น เรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหาทำวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อย สาขาการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชา เพื่อหารือปัญหา การเรียนรู้ของ นักศึกษา และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบ และระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบ ของสาขาวิชา ภายในกรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมิน การสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอน รับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการ ปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนา ปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป