ปฏิบัติการทางเครื่องต้นกำลังสำหรับระบบเกษตร

Power for Agricultural System Laboratory

1.1  เพื่อให้นักศึกษา ปฏิบัติเกี่ยวกับการ เกี่ยวกับเครื่องยนต์ พลังงานแสงอาทิตย์   เขื่อนและกังหันน้ำ   เหมืองถ่านหินและพลังงานผลิตไฟฟ้าจากแรงดันไอน้ำ   กังหันลม  บ่อก๊าชชีวภาพ
1.2  เพื่อให้เข้าใจในหลักการของต้นกำลังต่างๆ  เช่น หน้าที่ของส่วนประกอบ  หลักการทำงานของระบบ  สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง  เป็นต้น
เพื่อปรับปรุงรายวิชา  ในด้านเทคโนโลยี ของต้นพลังงาน  ให้ศึกษาในหลักการของต้นกำลังต่างๆ  และส่วนประกอบที่เกี่ยวข้องในแต่ละระบบ
เพื่อให้นักศึกษา ปฏิบัติเกี่ยวกับการ การถอดประกอบ การปรับแต่งและการทดสอบเครื่องยนต์ ศึกษษ หลักการ หม้อไอน้ำ พลังงานแสงอาทิตย์ เขื่อน เหมืองถ่านหินและพลังงานผลิตไฟฟ้าจากแรงดันไอน้ำ กังหันน้ำ กังหันลม บ่อก๊าชชีวภาพ
รวม 3  ชั่วโมง
- อาจารย์ประจำรายวิชา ให้นักศึกษาสอบถามนอกเวลา
- หรือนอกเวลาตามความเหมาะสมได้ทุกเวลา ในเวลาทำงาน
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของส่วนบุคคล มีความซื่อสัตย์ในวิชาชีพอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้             1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต
     2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
     3. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
     4. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. สอดแทรก  การบรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตในสังคม เช่น มงคล 38 เป็นต้น
2. ตรวจการเข้าชั้นเรียน  และความตั้งใจเรียน
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
ปฏิบัติเกี่ยวกับการ การถอดประกอบเครื่องยนต์   ศึกษาระบบ พลังงานแสงอาทิตย์ เขื่อน เหมืองถ่านหินและพลังงานผลิตไฟฟ้าจากแรงดันไอน้ำ กังหันน้ำ กังหันลม บ่อก๊าชชีวภาพ
บรรยายและปฏิบัติ การทำงานกลุ่ม และมอบหมายให้ค้นหา ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การศึกษาดูงานและนำเสนอ หรือ ถามความรู้ที่ได้รับ
ทดสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
พัฒนาความรู้ มีการวิเคราะห์ ปัญหาเนื้อหาที่ปฏิบัติ เช่นสาเหตุการขัดข้องของเครื่องยนต์ กระบวนการผลิตไฟฟ้า จากลม จากเขื่อน จากเหมืองถ่านหิน เป็นต้น
1. ปฏิบัติหรือการบรรยาย เรื่องที่เกี่ยวข้อง
2. ทำรายงานเรื่องที่เกี่ยวข้อง
3. ศึกษาดูงาน
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่ หลักการ ประโยชน์ ปัญหาและการแก้ไข
4.1.1 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่ม ปฏิบัติ
4.3.1 ประเมินจากรายงาน
5.1.1 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต เช่น สูตรในการคำนวณ เป็นต้น
5.2.1 มอบหมายงาน การคำนวณ เช่นอัตราส่วนการอัดของเครื่องยนต์ และอื่นๆ เป็นต้น
ด้านปฏิบัติ ถอดประกอบได้ตามขั้นตอน การใช้เครื่องมือพิเศษได้ถูกต้อง อธิบายหลักการทำงาน


เพื่อให้นักศึกษา ปฏิบัติเกี่ยวกับการ การถอดประกอบเครื่องยนต์ พลังงานแสงอาทิตย์ เขื่อน เหมืองถ่านหินและพลังงานผลิตไฟฟ้าจากแรงดันไอน้ำ กังหันน้ำ กังหันลม บ่อก๊าชชีวภาพ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 31082204 ปฏิบัติการทางเครื่องต้นกำลังสำหรับระบบเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติ สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติ กลางภาค สัปดาห์ที่ 8 ปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบปฏิบัติ 20 % 30% 50%
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
1.วิชาเครื่องยนต์เล็ก
2. หม้อไอน้ำในงานอุตสาหกรรม
3. พลังงานทดแทน
4. เครื่องกำเหนิดไฟฟ้า
5. โรงต้นกลังไฟฟ้า
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

สอบถามโดยตรง ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน เช่น สภาพการทำงาน วัสดุฝึก เครื่องมือ ปรับปรุง ต่างๆ โดยให้นักศึกษาเขียนไว้เป็นหลักฐาน และเก็บเป็นข้อมูล แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา

ของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1. เวลา ต้องให้สอดคล้อง ให้เพียงพอต่อเนื้อหา
2. ถ้าไม่ทันการเรียน การสอน ให้นักศึกษาทำรายงาน และนำเสนอ เนื้อหาในส่วนที่สอนไม่ทัน
3. หาเครื่องยนต์เล็ก ไว้ฝึกงานเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากของเดิมใช้งานมานาน
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก
4.1 การสอบถามนักศึกษา ถึงสิ่งที่เรียนมา
การทวนสอบ ปฏิบัติหลังจากากรสอบ หลังการให้คะแนน
วิธีการ ทบทวนแต่ละบท ซักถาม ให้ข้อคิด ดูสื่อจากยูทูป เน้นการซักถาม นักศึกษาที่ได้คะแนนไม่สูง
ศึกษาดูงานที่เกี่ยวข้อง เช่น หม้อไอน้ำ ในสถานประกอบการ และเขียนเพิ่มเข้าไปที่ คำอธิบายรายวิชา