เคมีสำหรับวิศวกร

Chemistry for Engineers

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้

เข้าใจพื้นฐานทางทฤษฎีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม สมบัติของธาตุตามตารางธาตุพีริออดิก ธาตุเรฟพรีเซนเททีฟ ธาตุอโลหะและธาตุแทรนซิซัน พันธะเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์ สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย จลนศาสตร์เคมี สมดุลเคมี สมดุลไอออนในน้ำ สามารถสืบค้นและศึกษาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เกี่ยวข้องกับสารประกอบทางเคมีได้ มีทักษะการปฏิบัติเทคนิคทางเคมี ประยุกต์ใช้และบูรณาการความรู้ทางเคมีในทางวิชาชีพของตนเองได้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
มีการปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัยและเหมาะสมกับผู้เรียน
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานทางทฤษฎีอะตอม โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของอะตอม   สมบัติของธาตุตามตารางธาตุพีริออดิก   ธาตุเรฟพรีเซนเททีฟ ธาตุอโลหะและธาตุแทรนซิซัน   พันธะเคมี   ปริมาณสารสัมพันธ์   สมบัติของก๊าซ ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย   จลนศาสตร์เคมี   สมดุลเคมี   สมดุลไอออนในน้ำ
Study of atomic theory, electron configuration of atom, properties of elements in periodic table, representative elements, non-metal and transitional elements, chemical bonds, stoichiometry, properties of gas, solid, liquid and solution, chemical kinetics, chemical equilibrium and ion equilibrium in water.
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 16.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์ชั้นหนึ่ง ตึกปฏิบัติการกลาง
3.2 e-mail; ynkeereeta@gmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
3. การเรียนการสอนแบบบูรณาการ แบบ Shoreline Method
4. การสอนแบบบรรยาย  
5. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.การสังเกต
2.ข้อสอบอัตนัย
3.ข้อสอบปรนัย
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
   2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
  2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
3. การสอนแบบบรรยาย  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
5. สื่อ เช่น power point, e-learning, คลิปวิดีโอ ของจำลอง เครื่องมือ  อุปกรณ์ ฯลฯ
6. การสอนผ่านระบบออนไลน์ เช่น microsoft team, Zoom
1. แบบฝึกหัด 
2. ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
3. การสอนแบบบรรยาย  
4. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
5. สื่อ เช่น power point, e-learning, คลิปวิดีโอ ของจำลอง เครื่องมือ  อุปกรณ์ ฯลฯ
6. การสอนผ่านระบบออนไลน์ เช่น microsoft team, Zoom
1. แบบฝึกหัด 
2. ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
  4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
š4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
  4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
4. การสอนโดยการอภิปรายกลุ่มแบบต่าง ๆ (Panel, Forum, Symposium, Seminar) 
1.โครงการกลุ่ม
2.การนำเสนองาน
3.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
4.การประเมินโดยเพื่อน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
4. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
5. การเรียนการสอนแบบบูรณาการ แบบ Shoreline Method
6. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย  
1.โครงการกลุ่ม
2.การนำเสนองาน
3.ข้อสอบอัตนัย
4. ข้อสอบปรนัย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 FUNSC201 เคมีสำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 2.1 การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา 50%
3 1.3, 2.1, 3.2, 4.3, 5.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
อภิสิฏฐ์ ศงสะเสน, เคมีทั่วไปสำหรับวิศวกร 1, กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น, 2554.
อภิสิฏฐ์ ศงสะเสน, เคมีทั่วไปสำหรับวิศวกร 2, กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น, 2554.
Atkins, P., and Jones, L., Chemical Pinciples, W.H. Freeman, New York, 2nd., 2002.
Chang, R., Chemistry, McGraw-Hill, New York, 9th ed., 2007.
Miessler, G.L., and Tarr, D.A., Inorganic Chemistry, Prentice Hall, New Jersey, 3rd ed.,
http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/chemistry/index.htm (May 2016)
https://www.khanacademy.org/science/chemistry
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินรายวิชา
2.1 แบบประเมินผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
การประชุมกลุ่ม
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
5.1 ปรับปรุงกระบวนวิชาในแต่ละปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับปรุงกระบวนวิชาในแต่ละปี ตามผลการประเมินผู้สอนโดยนักศึกษา
5.3 ปรับปรุงกระบวนวิชาในช่วงเวลาการปรับปรุงหลักสูตร