ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์

Vehicle Electrical and Electronics Systems

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ยานยนต์ เพื่อเป็นพื้นฐานความเข้าใจอันนำไปสู่ภาคปฎิบัติ
ศึกษาเกี่ยวกับกฎของโอห์ม เครื่องมือวัดทางไฟฟูา อุปกรณ์ไฟฟูาและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์ วงจรไฟฟูาตัวถังภายในยานยนต์ (EWD) ระบบสตาร์ท ระบบประจุไฟฟูา ระบบจุดระเบิด ระบบควบคุมเครื่องยนต์ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ระบบอานวย ความสะดวกและระบบเสริมความปลอดภัย
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่าน Facebook ผู้สอน
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)ตามเวลานัดหมาย
แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี
 
1.2.1 กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี เช่นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา การแต่งกายตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2.2 สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนแต่ละรายวิชา ในด้านความซื่อสัตย์สุจริตในการสอบ รวมทั้งการมีมารยาททางวิชาการ การไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
1.3.1 ประเมินด้านจิตพิสัยของนักศึกษา เช่น การตรงต่อเวลา การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่กาหนด และการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
1.3..2 ประเมินจากรายงานการกระทาทุจริตในการสอบ การมีมารยาททางวิชาการ และการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
2.2.1 มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้ง และเป็นระบบ
2.2.2 ส่งเสริมและชี้แนะให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางวิชาการ รวมทั้งการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม แล้วนามาประยุกต์สร้างผลงานทางวิชาการ
2.3.1 ประเมินผลตลอดภาคเรียน
2.3.2 ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
2.3.3 ประเมินผลจากการนาเสนองาน
3.1.1มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม
.2.1 ให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ แล้ววินิจฉัย และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ
3.3.1 ประเมินผลจากการอธิปรายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหาในประเด็นที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลอย่างเป็นระบบ
4.1.1 แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น และมีวุฒิภาวะทางอารมณ์
4.2.1 ส่งเสริมให้มีกิจกรรมกลุ่มที่แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
4.2.2 กำหนดบทบาท หน้าที่ การทางานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
         5.1.1 มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเขียน อันมีผลทาให้สามารถเข้าใจ องค์ความรู้หรือประเด็นปัญหาได้อย่างรวดเร็ว 
5.2.1 ติดตามข้อมูลข่าวสารประเด็นสาคัญด้านวิชาการจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.2 นำเสนอรายงานด้านวิชาการโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 2 ความรู้ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 5 การคิดวิเคราะเชิงตัวเลขและการสื่อสาร
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้ง และเป็นระบบ แสดงออกถึงการมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่น และมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ 1 มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเขียน อันมีผลทาให้สามารถเข้าใจ องค์ความรู้หรือประเด็นปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
1 TEDME908 ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 3.1 ทดสอบย่อยแต่ละบท 1-6 10-14 6ุ0%
2 4.1 5.1 ทำกิจกรรมร่วม การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย 7-8 15-16 30%
3 1.1 การร่วมกิจกรรม ส่งงาน ตามกำหนด วินัย การมาเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ระบบไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ยานยนต์ ระบบไฟฟ้ารถยนต์
ไม่มี
เว็ปไซค์ทางGoogle
แบบประเมินผู้สอน
ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำข้อเสนอแนะมาแก้ไข
3.2 ปรับรูปแบบการสอนใหม่เป็นส่วนๆไป
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาจำนวนร้อยละ25
4.2 ทดสอบกลุ่มตัวอย่างนักศึกษานักศึกษาจำนวนร้อยละ25
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ปรับรูปแบบการสอนแบบใหม่ๆ